Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผลเสริมกันจากการจัดการไอน้ำร่วมกัน: กรณีศึกษาโรงไฟฟ้าชีวมวลในพื้นที่ร่วม…
ผลเสริมกันจากการจัดการไอน้ำร่วมกัน: กรณีศึกษาโรงไฟฟ้าชีวมวลในพื้นที่ร่วม
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
สถานการณ์การผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย
ความสำคัญของโรงไฟฟ้าชีวมวลกับการผลิตพลังงานไฟฟ้า
การผลิตพลังงานไฟฟ้าจากชีวมวลในอุตสาหกรรมน้ำตาล
ประวัติและข้อมูลการผลิตไฟฟ้าชีวมวลโรงงานนำ้ตาลกรณีศึกษา
กระบวนการใช้เครื่องจักรในการผลิต
กระบวนการผลิตไอน้ำและไฟฟ้าของโรงงาน
ปัญหาของกระบวนการผลิตไอน้ำและไฟฟ้า
ระบบการผลิตขาดการทำงานร่วมกัน
การทำงานของเครื่องจักรไม่เต็มประสิทธิภาพ
ไม่มีระบบรายงานที่ชัดเจน รวดเร็วและทันเวลา
ไม่มีระบบการคำนวณการใช้ต้นทุนที่ชัดเจน
การใช้เชื้อเพลิงมากเกินความจำเป็น
แนวคิดการผลิตแบบลีน
การพัฒนากระบวนการผลิตไอน้ำและไฟฟ้าร่วมกันของเตาหม้อน้ำและเครื่องกำเนิดไฟฟ้าแบบกังหันไอน้ำ โดยใช้แนวคิดการผลิตแบบลีน
วัตถุประสงค์การวิจัย
เพื่อพัฒนาระบบการจัดการไอน้ำร่วมกันของโรงไฟฟ้าชีวมวลในพื้นที่ร่วมโดยใช้แนวคิดการผลิตแบบลีน
เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของการใช้ระบบการจัดการไอน้ำร่วมกันในโรงไฟฟ้าชีวมวลในพื้นที่ร่วมโดยใช้แนวคิดการผลิตแบบลีน
ปัญหา/คำถามการวิจัย
ระบบการจัดการไอน้ำร่วมกันในโรงไฟฟ้าชีวมวลในพื้นที่ร่วมโดยใช้แนวคิดการผลิตแบบลีนเป็นอย่างไร
ประสิทธิภาพของการใช้ระบบการจัดการไอน้ำร่วมกันในโรงไฟฟ้าชีวมวลในพื้นที่ร่วมโดยใช้แนวคิดการผลิตแบบลีนเป็นอย่างไร
ทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
หลัก 5 ประการของลีน
ความสูญเปล่า 7 ประการ
การลดความสูญเปล่าด้วยหลักการ ECRS
เครื่องมือที่ใช้ในการผลิตแบบลีน
การประยุกต์ใช้การผลิตแบบลีนในอุตสาหกรรม
วิธีดำเนินการวิจัย
ศึกษากระบวนการผลิตไอน้ำและไฟฟ้าของโรงงานชีวมวบในโรงงานน้ำตาลกรณีศึกษา
รวบรวมข้อมูลและปัญหาที่เกิดขึ้น
เขียนสายธารแห่งคุณค่า (Value Stream Mapping: VSM) ของกระบวนการผลิต
วิเคราะห์กระบวนการผลิตตามหลักการของลีน 5 ประการ
เลือกเครื่องมือที่เหมาะสมในการปรับกระบวนการผลิต
พัฒนา/ปรับปรุงระบบกระบวนการผลิตระบบการจัดการไอน้ำร่วมกันในโรงไฟฟ้าชีวมวลในพื้นที่ร่วมโดยใช้หลักการ ECRS และเครื่องมือการผลิตแบบลีน
วิเคราะห์ความสูญเปล่า 7 ประการ
เขียนสายธารแห่งคุณค่า (Value Stream Mapping: VSM) ของกระบวนการผลิตใหม่
ทดลองใช้กระบวนการผลิตที่พัฒนา/ปรับปรุงใหม่
ประเมินประสิทธิภาพภายหลังทดลองใช้ระบบกระบวนการผลิตระบบกระบวนการผลิตระบบการจัดการไอน้ำร่วมกันในโรงไฟฟ้าชีวมวลในพื้นที่ร่วม
สรุปผลการวิจัย วิเคราะห์และอภิปรายผล
กรอบแนวคิดในการวิจัย
การผลิตแบบลีน (Lean Manufacturing)
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ได้ระบบการจัดการไอน้ำร่วมกันในโรงไฟฟ้าชีวมวลในพื้นที่ร่วม
. เพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการผลิตพลังงานไอน้ำและไฟฟ้าขององค์กร
ลดต้นทุนและเพิ่มผลกำไรให้แก่องค์กร
ขอบเขตการวิจัย
การวิจัยนี้เป็นการศึกษาประสิทธิภาพของระบบการจัดการไอน้ำร่วมกันในโรงไฟฟ้าชีวมวลในพื้นที่ร่วมโดยใช้แนวคิดการผลิตแบบลีน