Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความสัมพันธ์ของสภาพทางภูมิศาสตร์บนโลกกับความหลากหลายของไบโอม unnamed …
ความสัมพันธ์ของสภาพทางภูมิศาสตร์บนโลกกับความหลากหลายของไบโอม
*ไบโอม
เเละ
ภูมิศาสตร์*
ความสัมพันธุ์ระหว่างภูมิศาสตร์กับไบโอมต่างๆ
ในโลกนี้มีหลายไบโอม โดยเเต่ละชนิดนั้นมีลักษณะทางกายภาพเเละชีวภาพเเตกต่างกันไป ลักษณะ เช่น
อุณหภูมิ
ความชื้น
ภูมิอากาศ
ภูมิประเทศ
สิ่งมีชีวิตทั้งพืชเเละสัตว์
ความสูง ความดัน ทรัพยากรธรรมชาติ ฯลฯ
ลักษณะทั้งหมดนี้เกิดขึ้น เเละสามารถมีความเเตกต่างกันได้มากขนาดนี้เนื่องจาก
ไบโอมมีความสัมพันธ์กับภูมิศาสตร์ของโลก
ปัจจัยทางภูมิศาสตร์มีหลายอย่างด้วยกันที่ส่งผลให้เกิดไบโอมเเต่ละไบโอม โดยหลักๆเเล้วมี
1) ที่ตั้งของพื้นที่บนเส้นลองจิจูด
ตำเเหน่งบนเส้นลองจิจูดคือปัจจัยที่สำคัญที่สุดที่ส่งผลต่อสภาพภูมิอากาศในที่นั้น โดยนับจากเส้นศูนย์สูตร ซึ่งถ้าอยู่ใกล้จึงจะมีผลทำให้มีภูมิอากาศที่ร้อนหรืออบอุ่นเเละมีฝนชุกทำให้เกิดไบโอม เช่น ป่าดิบชื้น/ทะเลทราย เเละหากอยู่ห่างจากเส้นศูนย์สูตรมากขึ้นก็จะส่งผลให้สภาพอากาศหนาวเย็นขึ้น เกิดไบโอมเช่น ทุนดรา เเละไทกา ทั้งหมดนี้เป็นเพราะตำเเหน่งศูนย์สูตรจะได้รับเเสงอาทิตย์มากสุดเสมอ
2) เเหล่งน้ำที่ใกล้
น้ำเป็นสิ่งที่ทำให้เกิดความอุดมสมบูรณืเเละการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต นอกจากนี้ยังสามารถควบคุมความชื้นเเละอุณหภูมิของบริเวณได้ด้วย พื้นที่ที่ใกล้เเหล่งน้ำมักจะมีลม อากาศเย็น อุดมสมบูรณ์ มีสิ่งมีชีวิตอาศัย อยู่มาก เเต่พื้นที่ที่ห่างไกลก็มักจะเป็นพื้นที่เเห้งเเล้ง ความอุดมสมบรณ์ต่ำเเละอุณหภูมิสูง เช่นนี้ ไบโอมเช่น สะวันนา กับทะเลทราย จึงเกิดขึ้นมากในใจกลางทวีปเเละที่ๆเป็นเขตเงาฝน กระเเสน้ำยังมีอิทธิพลต่ออุณหภูมิ โดยตรงด้วยเช่นในรัฐวอชิงตัน
3) ความสูง
อุณหภูมิ สภาพอากาศ เเละปริมาณออกซิเจนจะขึ้นอยู่กับความสูงของพื้นที่ ยิ่งสูงจะทำให้หนาวขึ้นจนอาจเกิดหิมะ เเละสิ่งมีชีวิตไม่มากที่สามารถอยู่ในสถานที่ที่มีอากาศเบาบาง นอกจากนี้เพราะที่สูงมักเป็นภูเขาเเละ ที่ราบสูงซึ่งเกิดจากการยกตัวของเเผ่นดินจึงทำให้มีผืนดินเเละทรัพยากรที่เเตกต่างซึ่งยิ่งจำกัดการเกิดสิ่งมีชีวิต
4) สภาพของทรัพยากร
ดิน เเร่ธาตุ เเละสถานที่กรณีพิเศษเช่น ภูเขาไฟ บ่อน้ำร้อน ที่ราบ เเอ่งกระทะ เป็นปัจจัยที่กำหนดความอุดมสมบูรณ์ของสถานที่ซึ่งมีผลต่อการเกิดชีวนิเวศ เพราะเเต่ละสถานที่มีทรัพยากรที่ต่างกันก็จะทำให้มีสื่งมีชีวิต ไม่เหมือนกัน เเละถ้าเกิดปัจจัยพิเศษที่กล่าวไปก็อาจทำให้เกิดไบโอมที่เเตกต่างจากบริเวณใกล้เคียงโดยสิ้นเชิงเช่นดินภูเขาไฟในเเถบภูเขาไฟที่อุดมสมบูรณ์กว่าบริเวณรอบๆ
ความหมาย
ไบโอม
ระบบนิเวศที่มี
"
ปัจจัยทางกายภาพ
" เช่น อุณหภูมิ
และ "
ปัจจัยทางชีวภาพ
" เช่น สิ่งมีชีวิต ที่คล้ายกัน
ชนิดของ
"ไบโอม"
ไบโอมบนบก
(terrestrial biomes)
ป่าดิบชื้น
(Tropical rain forest)
ภูมิอากาศร้อนและชื้น . ฝนตกตลอดปี . ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย 200 – 400 เซนติเมตรต่อปี
พบใกล้ เขตเส้นศูนย์สูตรของโลกในทวีปอเมริกากลาง/ทวีปอเมริกาใต้/ตอนกลางเเละตะวันตกทวีปเเอฟริกา/เอเชียตอนใต้/บางส่วนของหมู่เกาะแปซิฟิก
พบพืชและสัตว์หลากหลายพันชนิด มีความอุดมสมบูรณ์สูงมาก ป่ารกทึบ
พืช ไม้ต้นเรือนยอดชั้นบน ส่วนใหญ่เป็นไม้วงศ์ยาง-ตะเคียน(Dipterocarpaceae) . ไม้ต้นขนาดกลางและเล็ก อยู่ในวงศ์ หมากหรือปาล์ม(Plamae) . ลำต้นไม้และกิ่งไม้มีพืชอิงอาศัยเช่น พวกเฟิร์น มอส(epiphyte)
ป่าผลัดใบในเขตอบอุ่น
(Temperate deciduous forest)
อากาศค่อนข้างเย็น . ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย 100 เซนติเมตรต่อปี
พบกระจายทั่วไปในละติจูดกลาง ในทวีปอเมริกาเหนือ/ยุโรป/เอเชียตะวันออก/ชายฝั่งตะวันออกออสเตรเลีย
ความชื้นพอที่ต้นไม้ใหญ่จะเจริญได้ดี ต้นไม้ผลัดใบยามเเล้งเเละหนาว ผลิยามฝนมา
พืช พรรณไม้หลักเป็นไม้ต้นใบกว้าง ไม้ยืนต้น ไม้พุ่ม รวมถึงไม้ล้มลุก ที่ผลัดใบ
ป่าสน
(Coniferous forest)
ฤดูหนาวค่อนข้างยาวนาน อากาศเย็นและแห้ง . มีฝนตกในฤดูร้อน . ปริมาณฝนตก 25-75 เซนติเมตรต่อปี
พบในเขตละติจูดเหนือของ ทวีปอเมริกา/ยุโรป/เอเชีย เเถบอากาศหนาวที่ยังมีความอุดมสมบูรณ์พอตัว
ป่าสนตอนเหนือ (Northern Coniferous Forest) หรือป่าไทกา (Taiga forest) หรือป่าบอเรียล (Boreal forest) จัดเป็นป่าประเภทไม่ผลัดใบ
พืช ไม้เด่นที่พบในป่าสน ได้แก่ สพรูซ (spruces) เฮมลอค (hemlocks) ไพน์ (pines) และเฟอ (firs) ซึ่งเป็นไม้ทนหนาว เเละสามารถมีใบได้ตลอดปี
ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น
(Temperate grassland)
อากาศร้อนในทุ่งหญ้า steppe เเละอุ่นในทุ่งหญ้า prairie . ฝนตกช่วงฤดูร้อน และแห้งแล้งฤดูหนาว . ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย 25 – 50 เซนติเมตรต่อปี
ทุ่งหญ้าแพรี่ (Prairie) ในตอนกลางของทวีปอเมริกาเหนือ/ทุ่งหญ้า สเตปส์ (Steppes) ของประเทศรัสเซีย/ทวีปอเมริกาใต้ แพมพา (pampa)/ตอนใต้ยุโรปกับเเอฟริกา/ส่วนมากของออสเตรเลีย
เหมาะสำหรับการทำกสิกรและปศุสัตว์ เพราะดินมีความอุดมสมบูรณ์สูงมีหญ้านานาชนิด ส่วนใหญ่พบมีการทำเกษตรกรรมควบคู่ในพื้นที่ด้วย
พืช ทุ่งหญ้าไม้พุ่มที่มีหนาม ไม้ต้นทนแล้งและทนไฟป่า เช่น เบาบับ (baobab) และพวกกระถิน (acacia)
สะวันนา
(Savanna)
ภูมิอากาศร้อน . ฝนตกฤดูฝน ซึ่งเวลาไม่กี่เดือน ส่วนในฤดูแล้ง ฝนอาจไม่ตกเลย . น้ำฝนที่ตลอดปีมีประมาณ 30-50 เซนติเมตร
พบที่ อินเดีย/ทั่วเเอฟริกา/ตอนกลางอเมริกาใต้/ตอนชายฝั่งเหนือออสเตรเลีย
เป็นทุ่งหญ้ากว้างใหญ่ มีต้นไม้กระจายตัวอยู่ตามพื้นที่ หญ้าโตได้เร็วในช่วงฤดูฝน และเปลี่ยนกลับไปเป็นหญ้าแห้งที่ทนต่อความแห้งแล้งได้ในฤดูแล้ง
พืช ทุ่งหญ้า ต้นอาเคเชีย (Acacia) และต้นเบโอแบบ (Baobab)
ทะเลทราย
(Desert)
ร้อนมากมีอุณหภูมิเหนือผิวดินสูงถึง 60 องศาเซลเซียสตลอดวัน บางแห่งหนาวเย็น . ปริมาณฝนตกเฉลี่ยน้อยกว่า 25 เซนติเมตรต่อปี
ซาฮารา (Sahara) แอฟริกา / โกบี (Gobi) จีน / โมฮาวี (Mojave) รัฐแคลิฟอร์เนีย / ทะเลทรายเอเชียกลาง / ทะเลทรายตอนกลางออสเตรเลีย / ทางใต้อเมริกาใต้
แผ่นดินขนาดใหญ่ที่เต็มไปด้วยทราย อุณหภูมิกลางวันและกลางคืนแตกต่างกันมาก ยากแก่การดำรงชีวิตของพืชและสัตว์
พืช มีการป้องกันการสูญเสียน้ำ โดยใบลดรูปเป็นหนาม ลำต้นอวบ เก็บสะสมน้ำดี เช่นตะบองเพรช พุ่มหนาม
สัตว์ เช่น จิ้งจอกเฟเนค, อาร์มาร์ลดิลโล่, เเมงป่อง, เเมงมุม, กิ้งก่า, สัตว์เลื้อยคลาน
ทุนดรา
(Tundra)
ฤดูหนาวค่อนข้างยาวนาน ฤดูร้อนช่วงสั้น ๆ . ปริมาณฝนน้อยในฤดูร้อนช่วงสั้น ๆ . ปริมาณฝนตกเฉลี่ย 15-25 เซนติเมตรต่อปี
ตั้งแต่เส้นรุ้งที่ 60 เหนือขึ้นไปจนถึงขั้วโลก
ชั้นของดินชั้นบนลงไปจะจับตัวเป็นน้ำแข็งอย่างถาวร
พืช ขนาดเล็ก มอส หญ้า เเละไลเคน
ไบโอมในน้ำ
(Aquatic Biome)
เเบ่งตามสภาพของน้ำ (เค็ม/จืด)
มีทั้งหมด 2 ประเภท
ไบโอมแหล่งน้ำจืด
(Freshwater biome)
เเหล่งน้ำจืดทั้งน้ำนิ่ง เช่น ทะเลสาบ สระ หนอง หรือบึง กับแหล่งน้ำไหล เช่น ธารน้ำ แม่น้ำ
พืช ตะไคร่น้ำ บัว ตบฉวา มอส เเละพืชน้ำจืด
ไบโอมแหล่งน้ำเค็ม
(Marine biome)
แหล่งน้ำเค็ม ซึ่งได้แก่ ทะเลและมหาสมุทร ซึ่งพบได้ในปริมาณมากถึงร้อยละ 71 ของพื้นที่ผิวโลก
พืช ที่ทนน้ำเค็ม ปะการัง ดอกไม้ทะเล มอส สาหร่าย หญ้าทะเล เเพลงตอนสังเคราะห์เเสง
ตัวอย่างไบโอมชนิดต่าง ๆ เส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติกิ่วแม่ปาน
เขตอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ ตรง กม.ที่ 42 ของถนนสายจอมทอง-ยอดดอย อินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่
เฟิร์นยุคโบราณ - ป่าผลัดใบในเขตอบอุ่น (Temperate deciduous forest)*ช่วงอากาศแล้งเฟิร์นจะพักตัว ใบเหี่ยวแต่ไม่ตาย และจะฟื้นเขียวอีกครั้งเมื่อได้ละอองหมอก
พรรณพืชไม้ป่าเมฆ ต้นก่อ - ป่าผลัดใบในเขตอบอุ่น (Temperate deciduous forest)*“ไม้ก่อ” ซึ่งเป็นไม้ยืนต้นในกลุ่มต้นโอ๊ก พบมากทางภาคเหนือ โอ็กพบได้ในเขตนี้
ป่าเมฆ - ป่าดิบชื้น (Tropical rain forest)*ตามลำต้นของต้นไม้จะถูกห่อหุ้มด้วยบรรดามอส เฟิร์น ไลเคน และฝอยลม อิงแอบอยู่ตามกิ่งก้านและลำต้น เรือนยอดที่หนาแน่นของไม้ใหญ่จะกางกั้นไม่ให้แสงแดดส่องถึงพื้นล่าง
ป่าต้นน้ำ - ป่าดิบชื้น (Tropical rain forest) กึ่ง ไบโอมแหล่งน้ำ
ป่าซ่อมป่า -ป่าดิบชื้น (Tropical rain forest)*การล้มของต้นไม้ทำให้เเสงส่องลงมาได้เกิดต้นไม้ขึ้นใหม่ เเสดงว่ามีเรือนยอดหนา
เถาวัลย์ - ป่าดิบชื้น (Tropical rain forest)*เถาวัลย์ เป็นต้นไม้ที่ชอบแดดจัด โตเร็ว เลื้อยพันต้นไม้ใหญ่อย่างรวดเร็ว เติบโตในเขตป่าดิบชื้น
ป่าร้อน ป่าหนาว - ป่าดิบชื้น (Tropical rain forest) กึ่ง ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น (Temperate
สายน้ำ -ป่าดิบชื้น (Tropical rain forest) กึ่ง ไบโอมแหล่งน้ำ
มอส - ป่าดิบชื้น (Tropical rain forest)*ตามลำต้นของต้นไม้จะถูกห่อหุ้มด้วยบรรดามอส เป็นลักษณะของป่าดิบชื้น
ป่าสองรุ่น - ป่าดิบชื้น (Tropical rain forest)*ตามลำต้นของต้นไม้จะถูกห่อหุ้มด้วยบรรดามอส มีต้นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ มีความชื้นเเละอยู่ในเขตเส้นศูนย์สูตร
สูงใหญ่แต่ล้มง่าย - ป่าดิบชื้น (Tropical rain forest)*ตามลำต้นของต้นไม้จะถูกห่อหุ้มด้วยบรรดา fern มีต้นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ มีความชื้นเเละอยู่ในเขตเส้นศูนย์สูตร ต้นไม้ชุกชุมบังเเดดเป็นทางกว้าง
กูดต้น เฟิร์นสัญลักษณ์ป่าบริสุทธิ์ - ป่าดิบชื้น (Tropical rain forest)*กูดต้น เป็นเฟิร์นใบใหญ่เรียงเวียนรอบปลายต้น เรือนยอดกว้าง พบตามลุ่มน้ำริมห้วยชื้นแฉะ ใต้ร่มเงาแสงรำไรเท่านั้น การไม่พบกูดต้นในที่แดดจัด
เสียงป่า - ป่าดิบชื้น (Tropical rain forest)*บริเวณเดียวกับกูดต้น
สรุป - ป่าดิบชื้น (Tropical rain forest)*บริเวณเดียวกับเสียงป่า
ทุ่งหญ้าเมืองหนาว - ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น (Temperate grassland)*มีไม้ล้มลุกปะปนกับไม้พุ่มขนาดเล็ก เรียกพงไม้นี้ว่า “ทุ่งหญ้ากึ่งอัลไพน์” อัลไพน์เจริญในเขตทุนดราเเต่ในที่นี้เป็นปรากฏกาของดอยอินทนนทร์
กู๊ดเกี๊ยะ เฟิร์นทนไฟ -ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น (Temperate grassland)* เฟิร์นทนไฟ ขึ้นบริเวณทุ่งหญ้าเมืองหนาว เฟิร์นชนิดนี้มีใบหนาแข็ง ลดการคายน้ำ มีสมบัตฺทนไฟเช่นเดียวกับ acacia
จุดชมทิวทัศน์ -ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น (Temperate grassland)* ยังไม่ถึงความสูงของทุนดรา เป็นพื้นที่เดีนวกับทุ่งหญ้าเมืองหนาว
กวางผา -ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น (Temperate grassland)* ยังไม่ถึงความสูงของทุนดรา กวางผาเป็นสัตว์ที่ชอบอยู่รวมกันตามทุ่งหญ้าบนภูเขา และหน้าผาในเทือกเขาสูง พบได้ในทุ่งหญ้า steppe
ผาแง่มน้อย - ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น (Temperate grassland)* ยังไม่ถึงความสูงของทุนดรา พื้นที่เดียวกับกวางผา
กิ่วแม่ปาน (ป่าสองมุมบนสันเขา) - ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น (Temperate grassland)* ยังไม่ถึงความสูงของทุนดรา พื้นที่เดียวกับผาเเง่มน้อย
กุหลาบพันปี - ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น (Temperate grassland)*กุหลาบพันปี ปรับตัวเองให้อยู่ได้ในอากาศหนาวเย็น และลมแรง ใบเป็นแผ่น เหนียวหนา ลดการคายน้ำ ยังไม่ถึงความสูงของทุนดรา พื้นที่เดียวกับกิ่วเเม่ปาน
grassland)*ป่าร้อนจะมีพันธุ์ไม้ใบกว้าง ชอบแดดจัด ทนแล้ง ส่วนป่าหนาวจะเป็นพันธุ์ไม้พุ่มเตี้ย ใบมัน
..
ใช้เกณฑ์ ปริมาณน้ำฝน , อุณหภูมิ เป็นตัวกำหนด
มีทั้งหมด 7 ประเภท
..
..
..
..
..
..
สัตว์ เช่น สมเสร็จ, แรด, กระจง, เก้งหลายชนิด, เต่าหลายชนิด, ลิง, นกหลายชนิด, เเมลงเช่น เเมงมุม มด, เสือ
สัตว์ เช่น กวาง, จิ้งจอก, เม่น, เเรคคูน, สัตว์ฟันเเทะ, นกต้นไม้, เเมลงหลายชนิด, สัตว์ครึ่งบกน้ำ
สัตว์ เช่น กวางหลายพันธุ์, กระรอก, หมาป่า, หมี, นกฮูก, เหยี่ยว
สัตว์ เช่น กาเซล, ม้าลาย, เเรด, สิงโต, กวาง, หมาป่า, ม้า, เเมลง, งู, นกนักล่า
สัตว์ เช่น ละมั่ง, ควายป่า, ช้าง, แรด, ยีราฟ, สิงโต, เสือดาว, ไฮยีน่า
สัตว์ เช่น จิ้งจอกขาว, หมีขาว, หมาป่าขาว, กระต่ายขาว, นกฮูกขาว, กวาง
สัตว์น้ำจืด เช่น สัตว์ครึ่งบกน้ำ, ปลาน้ำจืด, เต่าเล็ก, ยุง, ปู, งู, จระเข้, หอย
สัตว์น้ำเค็ม เช่น เต่าทะเล, หอยทะเล, ปูทะเล, เเพลงต้อน, หมึก, ปลาทะเล, สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทะเล, จระเข้, งู, หนอน, กุ็ง, ฉลาม, เม่นทะเล
ป่าผลัดใบในเขตอบอุ่น (Temperate deciduous forest)
ป่าดิบชื้น (Tropical rain forest)
ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น (Temperate grassland)
ไบโอมแหล่งน้ำจืด (Freshwater biome)
จืด (Freshwater biome)*เป็นต้นกำเนิดเเหล่งน้ำซึ่งเกิดจากฝนที่ตกชุกในบริเวณ
จืด (Freshwater biome)*เป็นต้นกำเนิดเเหล่งน้ำซึ่งเกิดจากฝนที่ตกชุกในบริเวณ
..
..
..
..
..
..
..
..