Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความดันโลหิตสูงในมารดาตั้งครรภ์ (ปัจจัยเสี่ยง (ระยะห่างของการตั้งครรภ์ห่าง…
ความดันโลหิตสูงในมารดาตั้งครรภ์
ประเภท
1.ความดันโลหิตสูงเนื่องจากการตั้งครรภ์
(Pregnancy induced hypertension)
มีลักษณะดังนี้
• มีความดันโลหิตสูงครั้งแรกในระยะตั้งครรภ์ โดยก่อนการตั้งครรภ์ความดันโลหิตปกติ
• เกิดขึ้นในช่วงหลังอายุครรภ์ 20 สัปดาห์ไปแล้ว
• ระดับความดันโลหิต ลดลงสู่ภาวะปกติภายใน 12 สัปดาห์หลังคลอด
• BP ≥ 140/90 mmHg
Gestational hypertention
• มีความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภ์
• ไม่พบโปรตีนในปัสสาวะ หรือ trace หรือ protein urea < 300 mg
Preeclampsia
• มีความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภ์
• พบโปรตีนในปัสสาวะ ( protein urea )
2.1. Mild Preeclampsia
• BP ≥ 140/90 mmHg
• Protein urea ≥ 300 mg / ปัสสาวะ 24 hr. หรือ dipstick 1+
2.2. Severe Preeclampsia
• BP ≥ 160/110 mmHg
• Protein urea ≥ 2 g / ปัสสาวะ 24 hr. หรือ dipstick 2+
• มีอาการอย่างใดอย่างหนึ่งหรือร่วมกันทั้งหมด ดังนี้ ตาพร่ามัว ปวดศีรษะ จุกแน่นลิ้นปี่ ปัสสาวะออก < 25 ml/dL
• Serum creatinine > 1.2 g/dL
• เอนไซม์ของตับเพิ่มขึ้น ( ALT, AST )
• มีภาวะปอดบวมน้ำ ( pulmonary edema )
แบ่งความรุนแรงได้เป็น 3 ระดับดังนี้
3.Eclampsia
• ชักหรือเกร็ง โดยไม่ได้เกิดจากสาเหตุอื่น
ความดันโลหิตสูงชนิดเรื้อรัง
(Chronic hypertension)
มีลักษณะดังนี้
• ภาวะความดันโลหิตสูงที่เกิดก่อนตั้งครรภ์ หรือเกิดขึ้นขณะตั้งครรภ์แต่อายุครรภ์น้อยกว่า 20 สัปดาห์
• ภาวะความดันโลหิตสูงดำเนินต่อไปเกิน 12 สัปดาห์หลังคลอด
• มักนำไปสู่ Superimpose preeclampsia คือ มีความดันโลหิตสูงชนิดเรื้อรังมาก่อนแล้ว มี Protein urea ≥ 300 mg / ปัสสาวะ 24 hr. หรือ dipstick 1+
สาเหตุ
ทฤษฎีที่น่าเชื่อถือที่สุด คือ two-stage disorder
ระยะที่ 1 ระยะก่อนการแสดงอาการ (Preclinical stage)
• เซลล์ของรก (Trophoblasts) ไม่สามารถฝังตัวหรือฝังตัวได้ไม่ดี ในเยื่อบุโพรงมดลูก (endometrium) ทำให้หลอดเลือดของรก ไม่สามารถเชื่อมต่อกับหลอดเลือดของมดลูก (spiral artery)
• หลอดเลือดของมดลูก (spiral artery) อาจมีลักษณะตีบกว่าปกติและไม่สามารถแตกแขนง (Angiogenesis) เข้าสู่รกได้
ระยะที่ 2 ระยะแสดงอาการ Clinical stage
เกิดจากสารยับยั้งการสร้างหลอดเลือดที่มีมากและสารที่ส่งเสริมการสร้างหลอดเลือดมีน้อย ทำให้เกิดความไม่สมดุลกัน ทำให้หลอดเลือดของรกไม่สามารถเชื่อมต่อกับหลอดเลือดของมดลูก เกิดการขาดเลือดไปเลี้ยงที่รกอย่างต่อเนื่อง ทำให้ผนังหลอดเลือดเสื่อมลงและมีการหดรัดตัวของหลอดเลือด ทำให้เกิดภาวะความดันโลหิตสูง
แนวทางการรักษาและการพยาบาล
Mild Preeclampsia
การพยาบาล
2.bed rest ให้ได้มากที่สุด
3.รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ตรวจ protein urea อย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง
อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์เข้าใจถึงเหตุผลที่ต้องอยู่โรงพยาบาล
4.วัดความดันโลหิต ทุก 4 ชั่วโมง ยกเว้นหลังเที่ยงคืน เพื่อหลีกเลี่ยงการรบกวนการนอนหลับ
5.ส่งเลือดและปัสสาวะ 24 ชั่วโมง โดยอธิบายเหตุที่ต้องเจาะเลือด และแนะนำวิธีการเก็บปัสสาวะ 24 ชั่วโมง
6.เตรียมสตรีตั้งครรภ์เพื่อรับการตรวจต่างๆ เช่น ultrasound/NST และแนะนำสตรีตั้งครรภ์ให้นับจำนวนครั้งการดิ้นของทารกในครรภ์
7.ถ้ามีอาการปวดศีรษะ หน้ามืด ตาพร่ามัว ให้งดการให้ breast feeding
การรักษา
• Admit โรงพยาบาล ประมาณ 1-2 วัน
• ให้ผู้ป่วยได้พักผ่อน และผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น นํ้าหนัก ความดันโลหิต protein urea, serum creatinin, Hct, platelet, liver function test (ALT, AST)
• ultrasound เพื่อดู ขนาดทารก ปริมาณนํ้าครํ่า
• NST
• ประคับประคองจนกว่าจะตั้งครรภ์ครบกำหนด ยกเว้น severe preeclampsia หรือ fetal distress
หลักการรักษา
• ให้ผู้ป่วยได้พักผ่อน
• ประเมินอาการ อาการแสดง
• Labs เช่น serum creatinin, Hct, Plt., LFT
• ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์
ความดันโลหิตสูงชนิดเรื้อรัง
(Chronic hypertension)
หลักการรักษา คือ
ควบคุมความดันโลหิต
เฝ้าระวังการเกิด IUGR
เฝ้าระวังการเกิด superimposed preeclampsia
การรักษา
การตรวจติดตามทารกในครรภ์ (Antenatal fetal testing) : พิจารณาทำ Non-stress test (NST) ทุก 1 – 2 สัปดาห์ในรายที่เป็น Chronic hypertension ที่ได้รับยา, fetal IUGR, superimposed preeclampsia แต่โดยทั่วไป จะพิจารณาทำ NST ในทุกราย
การป้องกันการเกิด superimposed preeclampsia : ให้ Aspirin เนื่องจาก Chronic hypertension เป็นหนึ่งใน High risk factors ต่อการเกิด Preeclampsia
ควบคุมความดันโลหิต SBP 120 - 160 mmHg และ DBP 80 -110 mmHg กรณีที่ตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์ ไม่ได้รับยาลดความดันโลหิตมาก่อน หรือวินิจฉัยครั้งแรกขณะตั้งครรภ์ จะเริ่มยาลดความดันโลหิตก็ต่อเมื่อ ความดันโลหิตสูงกว่า 160/110 mmHg
เฝ้าระวังการเกิด IUGR : Ultrasound เพื่อประเมินน้ำหนักทารก (US growth) ในช่วงไตรมาสที่ 3 (ประมาณอายุครรภ์ 28 – 32 สัปดาห์) 1 ครั้ง, จะนัดตรวจติดตาม US growth หรือ ตรวจอื่นๆ เพิ่มเติม ให้พิจารณาตามความเหมาะสม
ช่วงเวลาที่พิจารณาให้คลอด
Chronic hypertension ที่ไม่ได้รับยาลดความดันโลหิต : ไม่แนะนำให้คลอดก่อนอายุครรภ์ 38 สัปดาห์
Chronic hypertension ที่ได้รับยาลดความดันโลหิต: ไม่แนะนำให้คลอดก่อนอายุครรภ์ 37 สัปดาห์
Eclampsia
หลักสำคัญ คือ แก้ไขภาวะชัก
ป้องกันการชักซ้ำ ฉีด 10% MgSO4 5 g.
ให้ O2
Suction clear air way
NPO
รักษาทางเดินหายให้โล่ง ด้วยการใส่ oral air way ป้องกันการกัดลิ้น
ยุติการตั้งครรภ์ภายหลังควบคุมอาการชักได้แล้ว 1-2 ชั่วโมง
การพยาบาล
1.ให้ความช่วยเหลือโดยใช้อุปกรณ์กดลิ้นเพื่อมิให้สตรีตั้งครรภ์กัดลิ้น หรือกันมิให้ลิ้นไปอุดทางเดินหายใจ พร้อมทั้ง ช่วยแพทย์ในการดูดเสมหะ และให้ออกซิเจน
จัดให้สตรีตั้งครรภ์นอนตะแคงซ้ายเพื่อมิให้สำลักน้ำลาย
เตรียม 10% MgSO4 เพื่อฉีดให้กล้ามเนื้อคลายตัวและป้องกันการชักซ้ำตามแผนการรักษาของแพทย์
ให้การดูแลสตรีตั้งครรภ์อย่างใกล้ชิด เนื่องจากในระยะหลังชักสตรีตั้งครรภ์จะอยู่ในภาวะ semi-coma ระยะนี้จะกินเวลาประมาณ 1-4 ชั่วโมง
ประเมินสุขภาพของทารกในครรภ์อย่างใกล้ชิด เพราะทารกอาจขาดออกซิเจนได้ขณะที่มารดาชัก และขณะเดียวกันก็อาจเกิดภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนด
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก เพราะ อาการเจ็บครรภ์มากอาจกระตุ้นให้เกิดการชักซ้ำได้อีก
เมื่อความดันโลหิตลดลง จึงให้การแนะนำในการดูแลตนเองและบุตร
10.หากมารดาอยู่ในภาวะรู้สึกตัวดี ควรให้มารดาได้พบทารกบ้าง และพยาบาลควรอยู่กับมารดาและทารกด้วย ไม่ควรปล่อยให้มารดาและทารกอยู่กันตามลำพัง เพราะอาจเกิดอุบัติเหตุได้
9.ในระยะหลังคลอดยังคงต้องให้มารดาพักผ่อนอย่างเพียงพอ โดยเฉพาะในรายที่ความดันโลหิตยังสูงอยู่ การจำกัดผู้ที่มาเยี่ยมเป็นสิ่งจำเป็น
8.ควรระวังการตกเลือดภายหลังคลอดโดยเฉพาะในรายที่มี placental abruption หรือผู้ที่มีเกล็ดเลือดต่ำ
เตรียมพร้อมเพื่อช่วยในการคลอดภายหลังควบคุมอาการชักได้แล้ว
Severe Preeclampsia
การรักษา
• ป้องกันภาวะชัก
• ยุติการตั้งครรภ์โดยเร็ว ยกเว้นในราย อายุครรภ์น้อยกว่า 34 สัปดาห์ แพทย์อาจให้ corticosteroid หลังจากนั้นจึงให้คลอดได้
• ควบคุมความสมดุลของน้ำและ electrolyte ประเมินการทำงานของไต ตับ ความข้นของเลือดและเกร็ดเลือด
• ให้ยาป้องกันชัก MgSO4 ในขณะฉีด MgSO4 ควรมียา 10% Calcium gluconate ไว้ข้างเตียงเสมอ โดยถ้าพบว่า หญิงตั้งครรภ์ หยุดหายใจ ให้ฉีด 10% Calcium gluconate 10 มิลลิลิตรเข้าหลอดเลือดเลือดดำโดยฉีดช้าๆ ประมาณ 3 – 5 นาที
พิจารณาการคลอด
< 23 weeks = terminate
23 – 32 weeks = corticosteroid
33 – 34 weeks = corticosteroid 48 hr จึงให้คลอด
34 weeks = MgSO4 จนควบคุมความดัน โลหิตได้ ให้คลอดได้
การพยาบาล
3.ก่อนให้ MgSO4 อธิบายถึงความจำเป็นที่ต้องให้ยา อาการร้อนทั่วร่างกายขณะแพทย์ให้ยา
4.ขณะแพทย์ฉีด MgSO4 (loading dose) วัดความดันโลหิต ทุก 5 นาที หาก diastolic ตํ่ากว่า 90 mmHg.ต้องรายงานแพทย์ เพราะอาจเกิด fetal distress
2.เตรียม MgSO4 และ Calcium gluconate ให้พร้อม
5.ขณะหยด MgSO4 ทางหลอดเลือดดำ ให้เฝ้าระวังสิ่งต่อไปนี้ ทุก 1 ชั่วโมง
• record urine ต้องออกไม่น้อยกว่า 25 ml/hr.
• Diastolic > 90 mmHg.
• อัตราหายใจ > 14 ครั้ง/นาที
• Deep tendon reflex ไม่น้อยกว่า 1+ (Biceps reflex, Triceps reflex, Brachioradialis reflex, Achilles reflex, Patellar reflex)
1.จัดให้นอนพักในห้องที่สงบ ไม่พลุกพล่าน ควรนอนตะแคงซ้ายเพื่อให้เลือดไปเลี้ยงรกได้ดีขึ้น
9.ประเมินการเกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น placenta abruption (ปวดมดลูก, vital signs, fetal heart sound)
7.ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ โดยติด Doppler auscultation เพื่อประเมินการเต้นหัวใจของทารก
8.เตรียม O2 ให้พร้อม
6.รายที่ได้รับ Hydralazine ในขณะแพทย์ฉีดยา พยาบาลต้องวัดความดัน ทุก 5 นาที และสังเกตอาการข้างเคียง เช่น ใจสั่น ปวดศีรษะ อาเจียน
10.ดูแลสภาพจิตใจ โดยอยู่ใกล้ชิด ให้ความช่วยเหลือ ลดความไม่สุขสบายต่างๆ สร้างความอบอุ่นใจ
11.ประเมินอาการเตือน ที่จะเกิดอาการชัก เช่น ความดันโลหิตสูง ปวดศีรษะ ตาพร่ามัว จุกแน่นลิ้นปี่ คลื่นไส้อาเจียน ตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะ
12.เตรียมคลอด เมื่อควบคุมความรุนแรงของโรคได้ตามความเหมาะสม
ปัจจัยเสี่ยง
ระยะห่างของการตั้งครรภ์ห่างจากครรภ์ก่อนมากกว่า 10 ปี
ครรภ์แรก
สตรีตั้งครรภ์ที่มีประวัติครรภ์เป็นพิษในครรภ์ครั้งก่อน
สตรีตั้งครรภ์แฝด
สตรีตั้งครรภ์ที่มีโรคประจำตัวก่อนการตั้งครรภ์ เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคไตเรื้อรัง
สตรีตั้งครรภ์ที่มีญาติพี่น้องสายตรงมีภาวะความดัโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ตั้งครรภ์อายุน้อยกว่า 20 ปีหรือมากกว่า 35 ปี
สตีตั้งครรภ์ไข่ปลาอุก
นศพต.ชลลดา บุญล้อม เลขที่ 9 ชั้นปีที่ 3