Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การแต่งคำประพันธ์ (😉ประเภทของคำประพันธ์😉 (ประเภทกลอน (ชื่อเรียกวรรคของกล…
การแต่งคำประพันธ์
😉ประเภทของคำประพันธ์😉
ประเภทกลอน
ไม่บังคับ เอกโท และครุ-ลหุ
ชื่อเรียกวรรคของกลอน
๒ วรรคสอง หรือวรรครับ
๓ วรรคสาม หรือวรรครอง
๔ วรรคสี่ หรือวรรคส่ง
๑ วรรคแรก หรือวรรคสดับ
บังคับ คณะ และสัมผัส
แผนผังกลอนสุภาพ
ประเภทกาพย์
ไม่บังคับเสียงวรรณยุกต์ท้ายวรรค
ไม่มีบังคับเอก-โท ครุและลหุ
บังคับจำนวนคำ และสัมผัส
คำประพันธ์ประเภทกาพย์
กาพย์ยานี ๑๑
กาพย์ฉบัง ๑๖
กาพย์สุรางคนางค์ ๒๘
ประเภทโคลง
หลักการแต่งโคลง
บังคับเอก โท
ประกอบด้วยรสคำ และรสความ
โคลงสี่สุภาพ
คำเอก : พยางค์หรือคำที่ปรากฏรูปวรรณยุกต์เอก
คำโท : พยางค์หรือคำที่ปรากฏรูปวรรณยุกต์โท
เอกโทษ : คำที่ใช้ไม้เอกแทนไม้โท
โทโทษ : คำที่ใช้ไม้โทแทนไม้เอก
ประเภทฉันท์
กำหนดครุ ลหุ เป็นสัมผัสมาตรฐาน
ครุ
มีตัวสะกด
สระเสียงยาว อำ ไอ ไอ เอา
ออกเสียงหนัก
ลหุ
ออกเสียงเบา
ไม่มีตัวสะกด
**ยกเว้น ก็ บ
อินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑
😘คำสำคัญที่ควรรู้😘
๒ คณะ : จำนวนคำบังคับในคำประพันธ์แต่ละประเภท
๓ สัมผัส : คำที่คล้องจองกัน
สัมผัสนอก: สัมผัสบังคับ
สัมผัสระหว่างวรรค
สัมผัสระหว่างบาท
สัมผัสระหว่างบท
สัมผัสใน : เป็นสัมผัสในวรรค ไม่ใช่สัมผัสบังคับ
สัมผัสสระ
สัมผัสพยัญชนะ
๑ คำ : นับด้วยจำนวนพยางค์
😇คำประพันธ์😇
ถ้อยคำที่ร้อยกรอง หรือเรียบเรียงขึ้น
มีข้อบังคับ จำกัดคำ และวรรคตอน ให้รับสัมผัสกันอย่างไพเราะ
นางสาวมณณฎา ปานเพชร รหัสนิสิต ๖๑๒๐๖๐๓๑๙๑