Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติด้านจิตใจในระยะหลังคลอด (ภาวะโรคจิตหลังคลอด (postpartum…
ความผิดปกติด้านจิตใจในระยะหลังคลอด
การรักษาภาวะซึมเศร้าหลังคลอดและโรคจิตหลังคลอด
การรักษาทางกาย
การช็อคไฟฟ้า (ECT)
ยาควบคุมอารมณ์ (mood stabilizer)
ยาต้านโรคจิต (antipsychotic drug)
ยาแก้ซึมเศร้า (antidepressant)
การรักษาทางจิตโดยใช้จิตบำบัด (psychotherapy)
จิตบำบัดรายบุคคล (individual therapy)
จิตบำบัดครอบครัว (family therapy)
การรักษาโดยการแก้ไขสิ่งแวดล้อม (environment therapy)
ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด (postpartum depression)
ความหมาย
ความผิดปกติด้านอารมณ์ ความคิด และการรับรู้ ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกายและ พฤติกรรม ที่เริ่มอาการตั้งแต่ 4 สัปดาห์ถึง 1 ปีหลังคลอด
สาเหตุ
ความตึงเครียดทางร่างกาย (biological stress)
การเปลี่ยนแปลงทางของร่างกายในระยะคลอดเช่น การเสียเลือด สูญเสียน้ำและอิเลคโตรลัยท์
การเปลี่ยนแปลงของต่อมไร้ท่อและระดับของฮอร์โมน คาดว่าอาจเกิดจากการลดลงของ estrogen progesterone corticotropin releasing hormone
ประสบการณ์ของการคลอดไม่ดี เช่น การคลอดยาก ได้รับการผ่าตัดคลอดแบบฉุกเฉิน บาดเจ็บจากการคลอด
ความตึงเครียดทางจิตใจ (psychological stress)
การตั้งครรภ์ที่ไม่พึงปรารถนา
ปัญหาในชีวิตสมรส
วิตกกังวลต่อการเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์ของตนเอง
สับสนกับการเปลี่ยนแปลงบทบาทการเป็นมารดา
ความตึงเครียดทางสังคม (social stress)
มารดาวัยรุ่นที่ต้องพึ่งพาบิดามารดา
เศรษฐานะ ความยากจน
ไม่ได้รับการเตรียมตัวก่อนคลอด
มารดาหลังคลอดที่ได้รับการดูแลอย่างเคร่งครัดจากครอบครัว
การวินิจฉัยภาวะซึมเศร้าหลังคลอด
ใช้เกณฑ์ของ (DSM-V) มีอาการตามเกณฑ์การวินิจฉัยต่อไปนี้5 ข้อ โดยอย่างน้อยต้องมีข้อ 1 หรือข้อ 2 หนึ่งข้อ และมีอาการนาน อย่างน้อย 2 สัปดาห์โดยไม่เคยมีประวัติของ mania หรือ hypomania ดังนี้
ซึมเศร้าโดยมีอาการเกือบทั้งวัน
ความสนใจหรือความเพลิดเพลินใจในสิ่งต่างๆ ลดลงอย่างมาก
เบื่ออาหาร น้ำหนักลดลง หรือกินจุ น้ำหนักเพิ่มขึ้น
มากกว่าร้อยละ 5 ใน 1 เดือน
นอนไม่หลับ หรือนอนมากกว่าปกติ
psychomotor agitation หรือ retardation
อ่อนเพลีย ไม่มีแรง
รู้สึกตนเองไร้ค่า หรือรู้สึกผิดอย่างไม่สมเหตุสมผล
สมาธิลดลง ลังเลใจ
คิดเรื่องการตาย หรือการฆ่าตัวตาย
ภาวะโรคจิตหลังคลอด (postpartum psychosis)
ความหมาย
มารดาหลังคลอดเกิดความวิกลจริตร่วมกับความผิดปกติด้านอารมณ์ ซึ่งมารดาจะมีอาการของโรค ไบโพลาร์และมีอาการโรคจิตเภท โดยมักเริ่มเกิดอาการใน 2 – 3 วันแรกหลังคลอด อาการจะพบได้ภายใน 1 เดือนแรกหลังคลอด
สาเหตุ
เคยมีประวัติเป็นโรคจิตหลังคลอด
มีประวัติไบโพลาร์ (bipolar) มีโอกาสที่จะเป็นโรคนี้สูงถึง 40 เปอร์เซ็นต์
มารดาหลังคลอดที่มีลักษณะบุคลิกภาพแปรปรวน เช่น เก็บตัว ย้ำคิดย้ำทำ
มีความเครียดในระยะตั้งครรภ์ เช่น ขาดการช่วยเหลือสนับสนุนจากสามี และคนในครอบครัว ปัญหาเศรษฐานะ
ประวัติบุคคลในครอบครัว ญาติใกล้ชิดป่วยด้วยโรคไบโพลาร์
อาการแสดงของโรคจิตหลังคลอด
อาการนำ
นอนไม่หลับ ฝันร้าย บุคลิกภาพเปลี่ยนแปลง
กระสับกระส่าย หงุดหงิดง่าย อารมณ์ไม่แน่นอน
ขาดความสนใจต่อสิ่งแวดล้อมรอบตัว
เริ่มสับสน สูญเสียความจำ ขาดสมาธิ เคลื่อนไหวผิดปกต
อาการโรคจิต
อาการโรคจิตหรือวิกลจริตร่วมกับความผิดปกติของอารมณ์
โรคไบโพลาร์ (bipolar disorder)หรือโรคอารมณ์แปรปรวนสองแบบ (manicdepressive illness
ทั้งอาการซึมเศร้าและอาการ แมเนีย หรืออาจมีอาการทั้ง 2 แบบผสมกันในเวลาเดียวกัน
การประเมินและการวินิจฉัย
การซักประวัติ
ร้องไห้ไม่มีสาเหตุ นอนไม่หลับ
บุคลิกภาพเปลี่ยนแปลง
ขาดความสนใจต่อสิ่งแวดล้อมรอบตัว
หงุดหงิดง่าย อารมณ์ไม่แน่นอน กระวนกระวายใจ หลงผิด
การตรวจร่างกาย
สังเกตอาการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับมารดาหลังคลอด