Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ฝีหนองที่เต้านม (breast abscess) (สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง (ท่อน้ำนมอุดตัน,…
ฝีหนองที่เต้านม (breast abscess)
การประเมินและการวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
เต้านมข้างที่เป็นฝีจะบวมแดง ร้อน คลำได้ก้อนตึง กดเจ็บมาก
ผิวหนังเหนือบริเวณที่มีก้อนจะเปลี่ยนเป็นสีแดง
มีไข้อุณหภูมิกายมากกว่า 38.4 องศาเซลเซียส หนาวสั่น
ปวดเมื่อยตาม ต่อมน้ำเหลืองที่ใต้รักแร้ข้างเดียวกับ
เต้านมข้างที่เป็นฝีจะโตและกดเจ็บร่วมด้วย และกรณีที่มีการติดเชื้อรุนแรง อาจพบหนองไหลออกมาจากเต้านม
การซักประวัติ
มารดาหลังคลอดที่ให้นมบุตรไม่ถูกวิธี
หัวนมแตกหรือมีแผลที่หัวนม ท่อน้ำนมอุดตัน เต้านมคัดตึง
คยมีประวัติการติดเชื้อที่เต้านมหรือหัวนม
มารดาตั้งครรภ์ครั้งแรก มารดาหลังคลอดที่ทำงานนอกบ้าน
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
การส่งตรวจ CBC
การอัลตราซาวนด์เต้านม
ส่งเพาะเชื้อจากน้ำนม
หรือของเหลวที่ออกจากเต้านม
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
ท่อน้ำนมอุดตัน
การติดเชื้อที่เต้านม
เต้านมคัดตึง หรือมีน้ำนมคั่งในเต้านม
มีประวัติการติดเชื้อที่เต้านมหรือหัวนม
มีความผิดปกติที่เต้านมหรือได้รับการผ่าตัดเต้านม
ตั้งครรภ์ครั้งแรก
อายุ > 30 ปี
ประวัติสูบบุหรี่
มารดาหลังคลอดที่ทำงานนอกบ้าน
หัวนมแตกหรือมีแผลที่หัวนม
ความหมาย
ภาวะที่เกิดการอักเสบติดเชื้อแล้วเกิดน้ำหนองรวมกันเป็นกลุ่มในเต้านม ทำให้ผิวหนังเหนือบริเวณ เกิดฝีหนองเปลี่ยนแปลงมีลักษณะคล้ำหรือช้ำเลือดช้ำหนองมักเกิดขึ้นใน ช่วง 2 – 3 สัปดาห์หลังคลอด
อาการและอาการแสดง
เต้านมบวมแดง ร้อน และปวดมาก
คลำได้ก้อนตึง กดเจ็บมาก และผิวหนังเหนือบริเวณที่มีก้อนเปลี่ยนเป็นสีแดง
มีไข้ อุณหภูมิกายมากกว่า 38.4 องศาเซลเซียส หนาวสั่น
ปวดศีรษะ หัวใจเต้นเร็ว คลื่นไส้อาเจียน ปวดเมื่อยตามตัว
ต่อมน้ำเหลืองที่ใต้รักแร้ข้างเดียวกับเต้านมข้างที่เป็นฝีจะโตและกดเจ็บ
ฝีแตกและมีหนองไหลออกมาได้
การรักษา
บรรเทาอาการปวด ให้รับประทานยาแก้ปวดลดไข้ (analgesics and antipyretics)
ให้ยาปฏิชีวนะ
การระบายเอาหนองที่เต้านมออกโดยการ needle aspiration หรือ incision and drainage ควบคู่ไปกับการให้ยาปฏิชีวนะ
**สามารถให้นมลูกข้างที่เต้านมเป็นฝีที่ระบายเอาหนองออกแล้ว