Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ ๑๓ พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖ (บทเฉพาะกาล…
บทที่ ๑๓ พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖
ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๖
หมวด ๑ สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
ส่วนที่ ๑ บททั่วไป
มาตรา ๙ คุรุสภามีอำนาจหน้าที่ต่อไปนี้
สนับสนุน ส่งเสริม
เป็นตัวแทน
ออกข้อบังคับ
พักใช้ใบอนุญาต
ออกใบอนุญาต
ให้คำปรึกษา
ควบคุมความประพฤติ
ให้คำแนะนำ
กำหนดมาตรฐานวิชาชีพ
มาตรา ๑๐ คุรุสภาอาจมีรายได้
ผลประโยชน์
ผู้อุทิศให้
ดอกเบี้ย
กู้ยืม
ค่าธรรมเนียมตาม พรบ.นี้
มาตรา ๘ คุรุสภามีวัตถุประสงค์
กำหนดมาตรฐานวิชาชีพ ออกและเพิกถอนใบอนุญาต
กำหนดนโยบายและแผน
ประสาน ส่งเสริมการศึกษาและการวิจัย
มาตรา ๑๑ ค่าธรรมเนียมตาม พรบ.นี้ให้เป็นไปตามรัฐมนตรีประกาศ
มาตรา ๗ ให้มีสภาครู เรียกว่า คุรุสภา
ส่วนที่ ๒ คณะกรรมการคุรุสภา
มาตรา ๑๕ นอกจากที่บัญญัติไวในมาตรา ๑๓ กรรมการที่มาจากผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษาที่ดํารงตําแหนงผูบริหารสถานศึกษา หรือผูบริหารการศึกษา หรือบุคลากรทางการศึกษาอื่น ตองมีคุณสมบัติเฉพาะตามมาตรา ๑๔ (๑) และตองเปนผูมีประสบการณดานการสอน
มาตรา ๑๖ กรรมการตามมาตรา ๑๒ (๑) (๓) (๔) และ (๕) ใหอยูในตําแหนงคราวละสี่ปและอาจไดรับการแตงตั้งอีก แตจะดํารงตําแหนงเกินสองวาระติดตอกันไมได
มาตรา ๑๗ นอกจากการพนตําแหนงตามวาระ กรรมการตามมาตรา ๑๒ (๑) (๓) (๔) และ (๕) พนจากตําแหนงเมื่อ
ลาออก
บกพร่องต่อหน้าที่
ตาย
ขาดคุณสมบัติ
มาตรา ๑๘ กอนครบวาระการดํารงตําแหนงของกรรมการตามมาตรา ๑๒ (๑)(๓) (๔) และ (๕) ไมนอยกวาเกาสิบวัน ใหรัฐมนตรีแตงตั้งคณะกรรมการสรรหาคณะหนึ่งจํานวนสิบเอ็ดคนจากคณะกรรมการคุรุสภาตามมาตรา ๑๒ (๒) จํานวนหาคน และจากผูแทนสมาคมวิชาการหรือวิชาชีพดานการศึกษาที่เปนนิติบุคคล ซึ่งเลือกกันเองจํานวนหกคน ทําหนาที่สรรหาบุคคลที่สมควรเปนประธานกรรมการและกรรมการผูทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการคุรุสภา
มาตรา ๑๔ นอกจากที่บัญญัติไวในมาตรา ๑๓ กรรมการที่มาจากผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษาที่ดํารงตําแหนงครู
มาตรา ๑๙ ในกรณีที่กรรมการคุรุสภาตามมาตรา ๑๒ (๑) และ (๓) พนจากมาตรา ๑๙ ในกรณีที่กรรมการคุรุสภาตามมาตรา ๑๒ (๑) และ (๓) พนจาก
มาตรา ๑๓ ประธานกรรมการ กรรมการผู้ทรงคุณวุติ ต้องมีคุณสมบัติทั่วไป และไม่มีลักษณะต้องห้าม
มาตรา ๒๐ ใหคณะกรรมการคุรุสภามีอํานาจหนาที่
ใหคําปรึกษาและแนะนําแกคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
ิจารณาวินิจฉัยอุทธรณคําสั่งของคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
บริหารและดําเนินการตามวัตถุประสงค์
มาตรา ๑๒ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่าคณะกรรมการคุรุสถา
สวนที่ ๓ คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
มาตรา ๒๓ กรรมการมาตรฐานวิชาชีพตามมาตรา ๒๑ (๓) (๔) และ (๕) ตองมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๑๓ มาตรา ๑๔ และมาตรา ๑๕ แลวแตกรณ
มาตรา ๒๔ กรรมการมาตรฐานวิชาชีพตามมาตรา ๒๑ (๑) (๓) (๔) และ (๕)ใหอยูในตําแหนงคราวละสี่ปและอาจไดรับการแตงตั้ง
มาตรา ๒๒การสรรหา การเลือก และการเลือกตั้งกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
มาตรา ๒๕ คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพมีอํานาจและหนาที
มาตรา ๒๑ ใหมีคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ ประกอบดวย
ประธานกรรมการซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งจากกรรมการผูทรงคุณวุฒิ
คณะกรรมการโดยตำแหน่ง
ส่วนที่ ๔ การดำเนินงานของคุรุสภา
มาตรา ๓๔ ใหมีสํานักงานเลขาธิการคุรุสภามีหนาที
ประสานและดําเนินการเกี่ยวกับกิจการอื่นที่คุรุสภามอบหมาย
จััดทํารายงานประจําปเกี่ยวกับการดําเนินงานเสนอตอคุรุสภา
รับผิดชอบเกี่ยวกับการดําเนินงานของคุรุสภา
มาตรา ๓๕ ใหสํานักงานเลขาธิการคุรุสภามีเลขาธิการคุรุสภาคนหนึ่งบริหาร
มาตรา ๓๓ กรรมการคุรุสภาตามมาตรา ๑๒ (๓) (๔) และ (๕) จะดํารงตําแหนงตามมาตรา ๒๑ (๓) (๔) และ (๕) และมาตรา ๖๔ (๓) และ (๔) แลวแตกรณีในคราวไม่ได้
มาตรา ๓๖ เลขาธิการคุรุสภาตองเปนผูสามารถทํางานใหแกสํานักงานเลขาธิการคุรุสภาไดเต็มเวลา
มาตรา ๓๒ ใหกรรมการคุรุสภา กรรมการมาตรฐานวิชาชีพ อนุกรรมการและคณะทํางานไดรับเบี้ยประชุมและประโยชนตอบแทนอื่น
มาตรา ๓๗ เลขาธิการคุรุสภามีวาระอยูในตําแหนงคราวละสี่ปและอาจไดรับการแตงตั้งอีกแตจะดํารงตําแหนงเกินสองวาระติดตอกันไมได
มาตรา ๓๑ ให้คณะกรรมการคุรุสภามีอำนาจเรียกบุคคลใดๆมาให้ถ้อยคำ
มาตรา ๓๘ นอกจากการพนจากตําแหนงตามวาระ เลขาธิการคุรุสภาพนจากตำแหน่งเมื่อ
ลาออก
คณะกรรมการให้ออก
ตาย
มีลักษณะต้องห้าม
มาตรา ๓๐ ในการปฏิบัติหน้าที่ตาม พรบ.นี้ ให้กรรมการคุรุสภาควบคุมการประกอบวิชาชีพ
มาตรา ๓๙ เลขาธิการคุรุสภามีหนาที่บริหารกิจการของสํานักงานเลขาธิการคุร
มาตรา ๒๙ ใหนําความในมาตรา ๒๖ และมาตรา ๒๗ มาใชบังคับกับการประชุมของคณะกรรมการ
มาตรา ๔๐ เลขาธิการคุรุสภา มีอํานาจดังนี้
บรรจุแตงตั้ง เลื่อน ลด ตัดเงินเดือน หรือคาจาง ลงโทษทางวินัยพนักงา
วางระเบียบเกี่ยวกับการดําเนินงานของสํานักงานเลขาธิการคุรุสภา
มาตรา ๒๘ รัฐมนตรีจะเขารวมประชุม และชี้แจงแสดงความเห็นในที่ประชุม
มาตรา ๔๑ ในกิจการที่เกี่ยวกับบุคคลภายนอก ใหเลขาธิการคุรุสภาเปนผูแทน
มาตรา ๒๗ ในการประชุม ถาประธานกรรมการคุรุสภาไมอยูในที่ประชุมหรือไม่สามารถปฏิบัติหนาที่ได
มาตรา ๔๒ ใหคณะกรรมการคุรุสภาเปนผูกําหนดอัตราเงินเดือนและประโยชนตอบแทน
มาตรา ๒๖ ใหคณะกรรมการคุรุสภามีการประชุมอยางน้อยเดือนละหนึ่งครั้ง
ส่วนที่ ๕ การประกอบวิชาชีพควบคุม
มาตรา ๕๐ มาตรฐานการปฏิบัติตน ใหกําหนดเปนขอบังคับวาดวยจรรยาบรรณของวิชาชีพครู
มาตรา ๕๑ บุคคลซึ่งไดรับความเสียหายจากการประพฤติผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพของผูไดรับใบอนุญาตมีสิทธิกลาวหาผูไดรับใบอนุญาตผูนั้นโดยทําเรื่องยื่นตอคุรุสภา
มาตรา ๕๒ เมื่อคุรุสภาไดรับเรื่องการกลาวหาหรือการกลาวโทษตามมาตรา ๕๑ใหเลขาธิการคุรุสภาเสนอเรื่องดังกลาวตอคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพโดยไมชักชา
มาตรา ๔๘ ผูซึ่งไดรับใบอนุญาตตองประพฤติตนตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพตามที่กําหนดในขอบังคับของคุรุสภา
มาตรา ๕๓ ใหประธานกรรมการมาตรฐานวิชาชีพมีหนังสือแจงขอกลาวหาหรือมาตรา ๕๓ ใหประธานกรรมการมาตรฐานวิชาชีพมีหนังสือแจงขอกลาวหาหรือ
มาตรา ๔๗ ผู้ซึ่งได้รับใบอนุญาตตองประกอบวิชาชีพภายใตบังคับแห่งข้อจำกัด
มาตรา ๕๔ คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพมีอํานาจวินิจฉัยชี้ขาดอยางใดอยางอย่างหนึ่ง
มาตรา ๔๖ห้ามมิใหผูใดแสดงดวยวิธีใดๆ ใหผูอื่นเขาใจวาตนมีสิทธิหรือพรอมจะประกอบวิชาชีพ
มาตรา ๕๕ ผูไดรับใบอนุญาตซึ่งคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพวินิจฉัยชี้ขาดตามมาตรา ๕๔ (๒) (๓) (๔) หรือ (๕)
มาตรา ๔๕ การขอรับใบอนุญาต การออกใบอนุญาต การกําหนดอายุใบอนุญาตการตออายุใบอนุญาต
มาตรา ๕๖ หามมิใหผูไดรับใบอนุญาตซึ่งอยูในระหวางถูกสั่งพักใชใบอนุญาต
มาตรา ๔๔ ผู้ขอรับใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพควบคุม ตองมีคุณสมบัติ
มีวุฒิปริญญาทางการศึกษา หรือเทียบเทา หรือมีคุณวุฒิอื่นที่คุรุสภารับรอง
ผานการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาตามหลักสูตรปริญญาทางการศึกษาเปนเวลาไมนอยกวาหนึ่งป
มีอายุไมต่ํากวายี่สิบปบริบูรณ
มาตรา ๕๗ ผู้ไดรับใบอนุญาตซึ่งถูกสั่งเพิกถอนจะยื่นขออีกไมได จนกว่าจะพ้นห้าปีนับแต่วันที่ถูกสั่งเพิกถอน
มูาตรา ๔๓ ให้วิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา และผูบริหารการศึกษาเปนวิชาชีพควบคุมตามพระราชบัญญัตินี้
ส่วนที่ ๖ สมาชิกคุรุสภา
มาตรา ๕๙ สมาชิกสามัญตองเปนผูไมมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๑๓ (ข)(๑) (๒) และ (๓) และเปนผูมีใบอนุญาตตามพระราชบัญญัติน
มาตรา ๖๐ สิทธิและหนาที่ของสมาชิกสามัญ
มาตรา ๕๘ สมาชิกของคุรุสภามีสองประเภท
สมาชิกสามัญ
สมาชิกกิตติมศักดิ
มาตรา ๖๑ สมาชิกภาพของสมาชิกยอมสิ้นสุดเมื่อ
หมวด ๔
มาตรา ๗๘ ผูใดฝาฝนมาตรา ๔๓ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งปหรือปรับมาตรา ๗๘ ผูใดฝาฝนมาตรา ๔๓ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งปหรือปรับ
มาตรา ๗๙ ผูใดฝาฝนมาตรา ๔๖ หรือมาตรา ๕๖ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามปหรือปรับไมเกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
บทเฉพาะกาล
มาตรา ๘๐ ในวาระเริ่มแรก ใหคณะกรรมการอํานวยการคุรุสภาเทาที่มีอยูตามพระราชบัญญัติคร พุทธศักราช ๒๔๘๘
มาตรา ๘๑ ใหคณะกรรมการคุรุสภาตามมาตรา ๑๒ และคณะกรรมการสงเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาตามมาตรา ๖๔
มาตรา ๘๒ ใหเลขาธิการคุรุสภาตามพระราชบัญญัติครูพุทธศักราช ๒๔๘๘ปฏิบัติหนาที่เลขาธิการคุรุสภา
มาตรา ๘๓ ใหโอนบรรดากิจการ เงิน ทรัพยสิน หนี้สิทธิตางๆ ของคุรุสภาตามพระราชบัญญัติครูพุทธศักราช ๒๔๘๘
มาตรา ๘๔ ผูใดเปนครูซึ่งเปนสมาชิกของคุรุสภาตามพระราชบัญญัติครพุทธศักราช ๒๔๘๘
บทบัญญัติมาตรา ๔๓ ยังมิใหนํามาใชบังคับจนกวาคุรุสภาจะออกขอบังคับ
มาตรา ๘๕ ในวาระเริ่มแรก ใหคุรุสภาออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูแกผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาที่ดํารงตําแหนงครูผูบริหารสถานศึกษา ผูบริหารการศึกษา
มาตรา ๘๖ ในวาระเริ่มแรก มิใหนําความในมาตรา ๑๔ (๑) มาใชบังคับแก่กรรมการคุรุสภาและกรรมการสงเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาจนกวาคุรุสภาจะออกใบอนุญาต
มาตรา ๘๗ ในวาระเริ่มแรกของการเลือกกรรมการซึ่งเปนผูแทนจากผูดํารงตําแหนงคณบดีคณะครุศาสตรหรือการศึกษา ใหเลือกผูแทนจํานวนสี่คนจากสถาบันอุดมศึกษา
มาตรา ๘๘ ใหวุฒิปริญญาทางการศึกษา หรือปริญญาอื่นที่ ก.ค. กําหนดใหเปนมาตรา ๘๘ ใหวุฒิปริญญาทางการศึกษา หรือปริญญาอื่นที่ ก.ค. กําหนดให
มาตรา ๘๙ ใหสมาชิกคุรุสภาตามพระราชบัญญัติครูพุทธศักราช ๒๔๘๘ ที่ไดรับสิทธิประโยชนและสวัสดิการตางๆ
มาตรา ๙๐ ในระหวางที่ยังมิไดออกคําสั่ง ประกาศ หรือระเบียบเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ใหนําคําสั่ง ประกาศ หรือระเบียบที่ออกตามพระราชบัญญัติครูพุทธศักราช ๒๔๘๘ ซึ่งไมขัดหรือแยงกับพระราชบัญญัตินี้มาใชบังคับโดยอนุโลม
ผูรับสนองพระบรมราชโองการ
พันตารวจโท ํ ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า "พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖"
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา ๓ ให้ยกเลิก
๔. พระราชบัญญัติครู (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๑๙
๓. พระราชบัญญัติครู (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๐๙
๒. พระราชบัญญัติครู (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๔๙๕
๕. พระราชบัญญัติครู (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๒๑
๖. พระราชบัญญัติครู (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๔๒๓
๑. พระราชบัญญัติครู พ.ศ. ๒๔๘๘
มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้
หน่วยงานการศึกษา หมายถึง สถานศึกษาหรือหน่วยงานอื่น
สถานศึกษา หมายถึง สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรียน วิทยาลัย สถาบัน มหาวิทยาลัย
บุคลากรทางการศึกษาอื่น หมายถึง บุคคลซึ่งทำหน้าที่สนับสนุนการศึกษา
ใบอนุญาต หมายถึง ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพซึ่งออกให้ผู้ปฎิบัติงานในตำแหน่งครู
ผู้บริหารการศึกษา หมายถึงบุคคลซึ่งปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้บริหารนอกสถานศึกษาในระดับเขตพื้นที่การศึกษา
เจ้าหน้าที่ หมายถึง บุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งตาม พรบ.นี้
ผู้บริหารสถานศึกษา หมายถึง บุคคลซึ่งปฏิบัติงานในตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษาภายในเขตพื้นที่การศึกษา
รัฐมนตรี หมายถึง รัฐมนตรีผู่รักษาการตาม พรบ.นี้
ครู หมายถึง บุคคลซึ่งประกอบวิชาชีพหลักทางด้านการเรียนการสอน
ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา หมายถึง ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา และบุคลากรทางการศึกษาอื่น
วิชาชีพ หมายถึง วิชาชีพทางการศึกษาที่ทำหน้าที่หลักทางด้านการเรียนการสอนและการส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน
กระทรวง หมายถึง กระทรวงศึกษาธิการ
มาตรา ๕ การประกอบวิชาชีพต้องอยู่ภายใต้บังคับหลักเกณฑ์การมีใบอนุญาติ
มาตรา ๖ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการรักษาการตาม พรบ.นี้
หมวด ๒ คณะกรรมการสงเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
ส่วนที่ ๑ บททั่วไป
มาตรา ๖๓ คณะกรรมการสงเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากร
มาตรา ๖๔ ใหคณะกรรมการสงเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา ๖๒ ใหมีคณะกรรมการสงเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาทําหนาที่บริหารงานสํานักงานคณะกรรมการสงเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพคร
ม๕ กรรมการสงเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการ
มาตรา ๖๖ การประชุมของคณะกรรมการสงเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครและบุคลากรทางการศึกษา ใหนําความในมาตรา ๒๖ และมาตรา ๒๗ มาใชบังคับโดยอนุโลม
ส่วนที่ ๒ สำนักงานคณะกรรมการสงเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศกษา
มาตรา ๖๙ ใหสํานักงานคณะกรรมการสงเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและ
มาตรา ๗๐ เลขาธิการคณะกรรมการสงเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา ตองเปนผูสามารถทํางานใหสํานักงานคณะกรรมการสงเสริมสวัสดิการ
มาตรา ๖๘สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา ๗๑ เลขาธิการคณะกรรมการสงเสริมสวัสดิการและบุคลากรทางการศึกษามีหนาที่บริหารกิจการของสํานักงานคณะกรรมการสงเสริมสวัสดิการ
มาตรา ๖๗ ใหมีสํานักงานคณะกรรมการสงเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครู
มาตรา ๗๒ เลขาธิการคณะกรรมการสงเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา ๗๓ ในกิจการที่เกี่ยวกับบุคคลภายนอก ใหเลขาธิการคณะกรรมการสงเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาเปนผูแทนของคณะกรรมการ
มาตรา ๗๔ ใหคณะกรรมการสงเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาเปนผูกําหนดอัตราเงินเดือนและผลประโยชนตอบแทนอื่นของเลขาธิการ
หมวด ๓ การกำกับดูแล
มาตรา ๗๖ ใหคุรุสภาเสนอรายงานประจําปเกี่ยวกับผลการดําเนินงานดานตางๆ ของคุรุสภา
มาตรา ๗๗ ใหสํานักงานการตรวจเงินแผนดินตรวจสอบการปฏิบัติงานดานการเงินการบัญชีของคุรุสภาเปนประจําทุกปแลวรายงานใหรัฐสภาทราบ
มาตรา ๗๕ ใหรัฐมนตรีมีอํานาจหนาที่
สั่งเปนหนังสือใหกรรมการชี้แจงขอเท็จจริงเกี่ยวกับกิจการของคุรุสภา และสํานักงานคณะกรรมการสงเสริมสวัสดิการ
สั่งเปนหนังสือใหกรรมการชี้แจงขอเท็จจริงเกี่ยวกับกิจการของคุรุสภา และสํานักงานคณะกรรมการสงเสริมสวัสดิการทางการศึกษาระงับหรือแก้ไขการกระทำใดๆ
กํากับดูแลการดําเนินงานของคุรุสภา
นางสาวมัรยัม จิดอลี
6220160387 เลขที่ 3