Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อุปสงค์ อุปทาน และต้นทุนของบริการสุขภาพ (ราคาดุลยภาพ Equilibrium price…
อุปสงค์ อุปทาน และต้นทุนของบริการสุขภาพ
ประเภทของสินค้าและบริการสุขภาพ
สินค้าและบริการที่ใช้ทดแทนกันได้ ปริมาณเป็นไปในทางเดียวกัน ความสัมพันธ์ในทิศทางบวก เช่น ยาบางชนิด
สินค้าและบริการที่ใช้ประกอบกัน มีความไวในการเปลี่ยนแปลงและปริมาณจะมีทิศทางและความสัมพันธ์ตรงข้ามกัน เช่น น้ำตาลผงกาแฟ โค้กและเปปซี่ ลูกกอล์ฟและไม่กอล์ฟ
สินค้าและบริการปกติ ผู้รับบริการจะซื้อเพิ่มเมื่อมีรายได้สูง ซื้อน้อยเมื่อรายได้น้อย ความสัมพันธ์ทางบวกระหว่างปริมาณเสนอซื้อกับรายได้จะมีความไวในการเปลี่ยนแปลงราคา และปริมาณในทิศทางเดียวกัน
สินค้าและบริการด้อยคุณภาพ ผู้รับบริการจะซื้อสินค้าเมื่อรายได้สูงขึ้น จะซื้อมากขึ้นเมื่อรายได้ลดลง ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณเสนอซื้อกับรายได้สินค้า และบริการด้อยคุณภาพจึงมีความสัมพันธ์ผกผันหรือในทางตรงข้ามกัน
อุปสงค์
อุปสงค์ Demand หมายถึง จำนวนสินค้าและบริการที่ผู้ซื้อต้องการซื้อ โดยปกติจะให้ความสำคัญกับเรื่องระดับราคามากที่สุด และเมื่อราคาสืนค้าเปลี่ยนแปลงไป จำนวนสินค้าและบริการชนิดนั้นก็จะเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางตรงกันข้ามเสมอ มีความสัมพันธ์เชิงลบ
อุปสงค์ด้านสุขภาพ Demand for health care ราคาสินค้าและบริการสุขภาพมีราคาสูงขึ้น ผู้บริโภคจะมีความต้องการสินค้าหรือบริการสุขภาพลดลง ความชันของเส้นอุปสงค์ จะลาดลงจากซ้ายไปขวา แสดงความชันเป็นลบเสมอ การเปลี่ยนแปลงรสนิยม การศึกษา รายได้ จะทำให้เส้นอุปสงค์เคลื่อนทั้งเส้นไปซ้าย หรือขวา โดยอุปสงค์เพิ่มขึ้น จะเคลื่อนไปทางขวา
การเปลี่ยนแปลงเส้นอุปสงค์
ภาวะความเจ็บป่วย หรือสุขภาพของแต่ละบุคคล ระดับสุขภาพสะสม
เพศ อายุ เศรษฐกิจ รายได้ครัวเรือน การออม งบประมาณรัฐ การกระจายรายได้ ระดับการศึกษา
ความเชื่อ ทัศนคติต่อการรักษาพยาบาลและบริการสุขภาพ
ข้อแนะนำจากบุคลากรทางการแพทย์
คุณภาพการรักษาพยาบาล
ราคายา ราคา บริการ
จำนวนสถานพยาบาลสาธารณสุข
จำนวนผู้ใช้บริการ
การประกับสุขภาพ การประกันสังคม
จำนวนประชากรทั้งหมดของประเทศ ต่อสถานพยาบาลต่อจำนวนเตียง
ความยืดหยุ่นต่อราคาเส้นอุปสงค์
ยืดหยุ่นต่ำ คือ สินค้าจำเป็น
อุปทาน
อุปทาน Supply for health care คือ ปริมาณเสนอขายงานบริการชนิดในชนิดหนึ่งที่ต้องการเสนอขาย แปรผันโดยตรงตามราคาบริการนั้น
ความยืดหยุ่น
ยืดหยุ่นต่ำ เช่น การมีผู้ผลิตมากราย ถ้ารัฐกดราคาจะไม่มีการเปลี่ยนแปลง ได้กำไรเหมือนเดิม
ยืดหยุ่นสูง เช่น สินค้าผูกขาดตลาด ถ้ารัฐกดราคาจะไม่นำสินค้ามาขาย
การควบคุมอุปทานของบริการสุขภาพ
การควบคุมศักยภาพของโรงพยาบาล
กฎหมายป้องกันการผูกขาด
การควบคุมปริมาณของบริการโรงพยาบาล ป้องกันมิให้โรงพยาบาลให้บริการสุขภาพเกินความจำเป็น
การควบคุมราคาค่าบริการสุขภาพ
ได้แก่ ปริมาณยา ร้านขายยา ปริมาณแพทย์ พยาบาล สถานบริการสุขภาพ คลินิกเอกชน
ราคาดุลยภาพ Equilibrium price
ราคาที่ทำให้จำนวนสินค้าที่ผู้บริโภคต้องการซื้อมีค่าเท่ากับจำนวนสินค้าที่ผู้ผลิตประสงค์ที่จะผลิตออกขายในขณะเดียวกันพอดี เรียกว่า ดุลยภาพของตลาด
อุปสงค์ = อุปทาน
อุปสงค์ส่วนเกิน Excess demand : ความต้องการผู้ซื้อมีมากกว่าที่ผลิต
อุปทานส่วนเกิน Ecess supply : ปริมาณผลิตมีมากกว่าความต้องการซื้อ
การปรับตัวของตลาดสุขภาพ
พฤติดรรมของตลาดถูกกำหนดโดยกลไกหรือมือที่มองไม่เห็น (Invisiblehand) ซึ่งมักทำหน้าที่เป็นกลไกในการปรับราคา ของผู้ซื้อและผู้ขาย
ต้นทุนทางเศรษฐศาตร์
ความแตกต่างระหว่างต้นทุนทางบัญชีกับต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์
ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ (Economics Cost) คือ ต้นทุนทั้งหมดที่เกิดขึ้นจากการผลิตสินค้านั้น ไม่ว่าจะมีการจ่ายไปจริงหรือไม่ก็ตาม ดังนั้น Economic cost = implicit cost + explicit cost
ต้นทุนทางต้นทางบัญชี (Accounting cost) คือ ต้นทุนในการผลิตสินค้าที่ผู้ผลิตได้มีการจ่ายจริงและได้ลงบันทึกรายการทางบัญชีไว้ ดังนั้น Accounting cost = Explicit cost
ต้นทุนค่าเสียโอกาส (Opportunity Cost) สิ่งที่มีมูลค่าสูงสุดที่ต้องเสียไปหรือประโยชน์สูงสุด
ต้นทุนชัดแจ้ง (Explicit cost) ต้นทุนที่เกิดขึ้นจริงและมีการจ่ายออกไปเป็นเงินจริง ๆ ต้นทุกไม่ชัดเจน (Implicit cost) เกิดจากการผลิตจริงๆ ไม่มีการจ่ายออกเป็นตัวเงิน
ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ (Economic cost) อาจเป็นจ่ายเป็นตัวเงินหรือไม่จ่ายเป็นตัวเงิน
การจำแนกประเภทต้นทุน
ตามพฤติกรรม
ต้นทุนคงที่ (Fixed cost) ไม่เปลี่ยนแปลงตามปริมาณการผลิตและการขาย เช่น ค่าก่อสร้าง ค่าที่ดิน ค่าเครื่องจักร
ต้นทุนผันแปร (Variable cost) เป็นต้นทุนที่แปรโดยตรงและเป็นอัตราคงที่ปริมาณการผลิตและการขาย เช่น ค่าจ้างแรงงาน ค่าวัตถุดิบ เป็นต้น
ตามวัตถุประสงค์
ต้นทุนทางตรง (Direct cost)
ต้นทุนทางอ้อม (indirect cost)
ต้นทุนทางตรงรวม (Total dorect cost)
ตามหน้าที่
ต้นทุนการเงิน คือ ดอกเบื้อจากเงินที่กู้มา
ต้นทุนดำเนินงาน ได้แก่ ต้นทุนการขาย
ต้นทุนการผลิต ได้แก่ วัสดุ ค่าแรง ค่าเสื่อมราคา
แบ่งทรัพยากร
ต้นทุนค่าแรง (Labor cost) เงินเดือน ค่าจ้าง ค่าตอบแทนรวมสวัสดิการต่างๆ
ต้นทุนค่าลงทุน (Capital cost) คือ ต้นทุนของสินทรัพย์หลักที่ใช้ในการกระบวนการผลิตสินค้า
การคิดต้นทุน
ค่าเสียโอกาส
ค่าเสื่อราคาอายุการใช้งานสินทรัพย์
ต้นทุนวัสดุ (Material cost) ค่าวัสดุที่ใช้ในการผลิต
นางสาว ธนัชชา ภูผานี ชั้นปีที่ 3 รุ่นที่ 25 ห้อง A เลขที่ 24