Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความสัมพันธ์ของสภาพภูมิศาสตร์บนโลกกับความหลากหลายของไบโอม…
ความสัมพันธ์ของสภาพภูมิศาสตร์บนโลกกับความหลากหลายของไบโอม บนเส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติ "กิ่วแม่ปาน"
ความสัมพันธ์ของสภาพภูมิศาสตร์บนโลกกับความหลากหลายของไบโอม
ชีวนิเวศ (อังกฤษ: biome) หมายถึง ระบบนิเวศที่มีองค์ประกอบของปัจจัยทางกายภาพ ที่คล้ายคลึงกัน
นอกจากนี้พบว่าสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในไบโอมต่างๆ นี้
ต้องมีการปรับตัวให้เข้ากับปัจจัยทางกายภาพในแต่ละเขตภูมิศาสตร์นั้น ๆ ด้วย
ชนิดของไบโอม
ไบโอมบนบก
4.ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น (Temperate grassland)
ดินมีความสมบูรณ์สูง พืชเป็นพวกพุ่มไม้หนาม ไม้ล้มลุก ไม้ทนแล้ง ทนไฟป่า และหญ้า(ความสูงขึ้นอยู่กับปริมาณน้ำฝน)
สัตว์กินพืชเป็นอาหารเยอะ และตามด้วยสัตว์กินเนื้อ
เป็นแหล่งเกษตรกรรม
เป็นเขตที่มีทุ่งหญ้าปกคลุม มีฝนตกในฤดูร้อนและเเห้งแล้งในฤดูหนาว น้ำฝนเฉลี่ย 25-70 เซนติเมตรต่อปี
5.สะวันนา (Savanna)
ทุ่งหญ้าเขตร้อน เป็นป่ากึ่งผลัดใบ มีต้นไม้ขึ้นห่างกันเป็ยระยะ ๆ ปริมาณน้ำฝน 100-150 เซนติเมตรต่อปี ดินแห้งผาก แข็ง และฝุ่นเยอะ มีไฟป่าเกิดขึ้นในฤดูร้อน หรือไม่ใช่ฤดูร้อนก็มีเกิดขึ้นบ่อย
พืชต้องปรับตัวได้ดีและสามารถเก็บน้ำได้ สัตว์ส่วนใหญ่เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่หลายสายพันธุ์ มีทั้งพวกกินพืชและกินเนื้อ
เป็นทุ่งหญ้าที่พบได้ในทวีปแอฟริกา ทวีปอเมริกาใต้ ทวีปออสเตรเลีย และพบบ้างทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปเอเชีย
3.ป่าสน หรือป่าไทกา ป่าสน (coniferous forest)
ต้นไม้เขียวชอุ่มตลอดปีพบได้ทางตอนใต้ของแคนาดา ทางตอนเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ ทวีปเอเชีย และยุโรป ในเขตละติจูตตั้งแต่ 45-67 องศาเหนือ
พืชเด่นที่พบ ได้แก่ พืชจำพวกสน เช่น ไพน์ (pine) เฟอ (fir) สพรูซ (spruce) และเฮมลอค (hemlok) เป็นต้น
ป่าโปร่งไม่ผลัดใบ อากาศหนาวเย็นและแห้งแล้ง ดินเป็นกรดสูง โดยปกติอุณหภูมิเฉลี่ยต่ำกว่าจุดเยือกแข็งนาน 6 เดือน ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย 25-75 เซนติเมตรต่อปี ส่วนใหญ่ตกช่วงฤดูร้อน
6.ทะเลทราย ( desert )
บริเวณแห้งแล้ง ฝนน้อย อัตราการระเหยของน้ำสูงกว่าที่ได้รับ บางแห่งอุณหภูมิสูงถึง 60 องศาเซลเซียส แต่บางวันของบางแห่งมีอากาศหนาวเย็น และในฤดูหนาวอุณหภูมิอาจต่ำกว่าจุดเยือกแข็ง
พืชเป็นไม้ทนแล้ง อวบน้ำ ลดการเสียน้ำโดยเปลี่ยนจากใบเป็นหนาม พืชบางชนิดมีการหยั่งรากลึกลงไปในดินเพื่อดูดน้ำ สัตว์จะได้รับน้ำจากพืช(น้ำหวานและยาง)หรือโอเอซิส โดยเฉพาะพวกแมลง ซึ่งเป็นตัวล่อพวกสัตว์เลื้อยคลานเข้ามา
โอเอซิส
คือบริเวณชุ่มชื้นกลางทะเลทราย เกิดจากน้ำฝนที่ตกลงมาแล้วซึมผ่านทรายลงไปสะสมบนชั้นหินใต้ดิน โดยน้ำจะดันตัวเองขึ้นมาได้อาศัยแรงลมมาพัดหน้าทรายให้บางพอที่น้ำจะผุดขึ้นมา
พบได้ทั่วไปในโลก
2.ป่าผลัดใบเขตอบอุ่น(temperate deciduous forest)
พบทั่วไปบริเวณละติจูดกลาง มีอากาศค่อนข้างเย็น ฤดูร้อนอากาศอบอุ่น ฤดูหนาวไม่หนาวมาก มีฝน 60-250 เซนติเมตรต่อปี ซึ่งมีความชื้นเพียงพอจะทำให้ต้นไม้เจริญเติบโตได้ดี
สัตว์บกที่พบมีกวาง(กินพืช)และสุนัขจิ้งจอก(กินเนื้อซึ่งก็คือกวางนั่นแหละ)
ไม้ยืนต้น ไม้พุ่ม และไม้ล้มลุก พืชส่วนใหญ่เป็นไม้ใบกว้าง ทิ้งใบเมื่อฤดูแล้งและฤดูหนาว ผลิใบอีกครั้งเมื่อฝนตก พืชจะโตช้าและหยุดเป็นช่วง ๆ
7.ทุนดรา (Tundra) หรือแบบอาร์กติก
อยู่แถบขั้วโลกโดยมีแค่มหาสมุทรอาร์กติกเป็นที่กั้น พบทางตอนเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ และยูเรเซีย
อากาศหนาวเย็น มีลมพัดเเรงตลอดเวลา และมีหิมะคลุมตลอดทั้งปี แม้แต่ฤดูร้อน 2-3 เดือน อุณหภูมิเฉลี่ยต่ำกว่า 10 องศาเซลเซียส ฤดูหนาวอุณหภูมิต่ำกว่าจุดเยือกแข็งนาน 6 เดือน ฝนตกน้อยกว่า 250 มิลลิเมตรต่อปีและส่วนใหญ่ตกฝนรูปหิมะ มีหนองน้ำเป็นแหล่ง ๆ และมักพบที่ราบ
-พืชเด่นได้แก่ ไลเคนส์ กก มอส หญ้าเซดจ์ และไม้พุ่มเตี้ย
-สัตว์เด่นเช่น หมีขาว จิ้งจอกอาร์กติก เพนกวิน นกฮูกหิมะ กวางเรนเดียน คาริบู สัตว์ส่วนใหญ่กินเนื้อ(ปลา)และตะไคร่น้ำเป็นอาหาร
1.ป่าดิบชื้น หรือป่าฝนเขตร้อน(Tropical rain forest)
ป่าไม้สูง อากาศร้อนและชื้น มีฝนตกชุกตลอดปี น้ำฝนเฉลี่ย 200-400 เซนติเมตรต่อปี เป็นป่าไม่ผลัดใบเนื่องจากปริมาณน้ำฝนค่อนข้างมากทำให้ไม่มีความจำเป็นต้องผลัดใบเพื่อลดการคายน้ำ
อินทรียสารสมบูรณ์มาก ป่าตั้งอยู่ในเขตร้อน จึงได้รับแสงเยอะทำให้ต้นไม้โต และเป็นแหล่งอาหารของสัตว์ มีไม้สูงพวกยาง-ตะเคียน ไม้กลางพวกปาล์ม และไม้พุ่ม ไม้ล้มลุก
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม(ส่วนใหญ่ตัวเล็ก) มีนกและสัตว์เลื้อยคลานหลายชนิด แมลงที่พบจะเป็นพวกที่มีการเป็นตัวด้วง
พบได้ในบริเวณใกล้เขตเส้นศูนย์สูตรของโลกในทวีปอเมริกากลาง ทวีปอเมริกาใต้ ทวีปแอฟริกา ทวีปเอเชียตอนใต้ และบริเวณบางส่วนของหมู่เกาะแปซิฟิก
ไบโอมในน้ำ
ไบโอมแหล่งน้ำจืด (Freshwater biomes)
แหล่งน้ำนิ่ง
บริเวณผิวน้ำ (limnertic zone)
บริเวณที่อยู่ถัดออกจากชายฝั่ง มีบริเวณที่มีพื้นที่ผิวของน้ำสัมผัสกับอากาศและได้รับแสงอาทิตย์ที่ส่องลงมากระจายอย่างทั่วถึงที่พื้นผิวน้ำ
บริเวณน้ำชั้นล่าง (profundal zone)
บริเวณที่อยู่ชั้นน้ำต่ำกว่าระดับผิวน้ำลงไปจนถึง พื้นท้องน้ำ (benthic zone) และเป็นบริเวณที่แสงอาทิตย์ส่องลงไปไม่ถึง
บริเวณชายฝั่ง (littoral zone)
บริเวณที่อยู่ติดกับพื้นดินและห่างจากฝั่งไม่มากนัก บริเวณนี้จะพบว่าเป็นแหล่งน้ำตื้นๆ มักจะมีพืชน้ำจำพวกรากหยั่งลึกในดิน และพืชที่ลอยน้ำอยู่เป็นจำนวนมาก
แหล่งน้ำไหล
บริเวณน้ำไหลเชี่ยว (rapid zone)
บริเวณที่เป็นแอ่งน้ำ (pool zone)
ไบโอมแหล่งน้ำเค็ม (Marine biomes)
ทะเลและมหาสมุทร
บริเวณชายฝั่งทะเล (coastal zone)
บริเวณที่อยู่ติดกับพื้นดินที่มีความลาดชันน้อยและค่อนข้างอุดมสมบูรณ์ เนื่องจากได้รับอิทธิพลของกระแสน้ำขึ้นน้ำลง และได้รับธาตุอาหารจากการชะล้างผิวหน้าดินลงสู่แหล่งน้ำ
บริเวณทะเลเปิด (open sea)
บริเวณที่อยู่ห่างออกจากชายฝั่ง พื้นที่มีความลาดชันเพิ่มขึ้นตามความลึกของน้ำ สามารถแบ่งออกเป็นเขตต่างๆได้ 3 เขต คือ เขตที่แสงส่องถึง เขตที่มีแสงน้อย และเขตที่ไม่มีแสง
หาดทราย
หาดหิน
แนวปะการัง
แหล่งอ้างอิง
https://everyonecanchangetobetter.wordpress.com/2018/05/20/%E0%B9%84%E0%B8%9A%E0%B9%82%E0%B8%AD%E0%B8%A1-7-%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%94/
https://sites.google.com/site/sciencekrongkwan/content01/content0111
https://www.emagtravel.com/archive/kew-mae-pan.html
ไบโอมตามจุดชมวิวต่างๆในแหล่งท่องเที่ยวบนเส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติ"กิ่วแม่ปาน"
ไบโอมบนบก
ป่าดิบชื้น หรือป่าฝนเขตร้อน(Tropical rain forest)
พบในจุดชมวิวที่
1.เฟิร์นยุคโบราณ
2.ป่าเมฆ
3.ป่าต้นน้ำ
4.พรรณพืชไม้ป่าเมฆ
5.ป่าซ่อมป่า
6.เถาวัลย์
ป่าร้อน ป่าหนาว
สายน้ำ
มอส ชอบน้ำแต่ทนแล้ง
ป่าสองรุ่น
สูงใหญ่แต่ล้มง่าย
กูดต้น เฟิร์นสัญลักษณ์ป่าบริสุทธิ์
เสียงป่า
มีต้นไม้ขึ้นหนาแน่น มีแสงแดดรำไรส่งลงมา เพียงพอต่อการดำรงชีวิตของเฟิร์นใบบางที่สุดในโลก
เชิงดอยอินทนนท์อากาศร้อนชื้น แต่ยอดดอยอากาศหนาว ลมพัดแรง และมีหมอกหนา ด้วยสภาพแวดล้อมที่ต่างกัน ป่าร้อนจะมีพันธุ์ไม้ใบกว้าง ชอบแดดจัด ทนแล้ง ส่วนป่าหนาวจะเป็นพันธุ์ไม้พุ่มเตี้ย ใบมัน
ป่าผลัดใบเขตอบอุ่น(temperate deciduous forest)
พบในจุดชมวิว
ป่าร้อน ป่าหนาว
ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น (Temperate grassland)
พบในจุดชมวิวที่
7.ทุ่งหญ้าเมืองหนาว
กู๊ดเกี๊ยะ เฟิร์นทนไฟ
จุดชมทิวทัศน์
กวางผา ปลอดภัยในบ้านผาหิน
ผาแง่มน้อย
กิ่วแม่ปาน (ป่าสองมุมบนสันเขา)
กุหลาบพันปี
มีไม้ล้มลุกปะปนกับไม้พุ่มขนาดเล็ก เรียกพงไม้นี้ว่า “ทุ่งหญ้ากึ่งอัลไพน์”
เฟิร์นมีใบหนาแข็ง ลดการคายน้ำ ซ่อนลำต้นไว้ใต้ดิน เมื่อมีไฟป่าใบที่อยู่พ้นดินจะไหม้ และจะงอกขึ้นใหม่อีกครั้งจากลำต้นที่อยู่ได้ดิน
ไบโอมในน้ำ
ไบโอมแหล่งน้ำจืด
พบในจุดชมวิว 3.ป่าต้นน้ำ
สายน้ำ
ห้วยสายเล็กๆ ปกคุลมด้วยป่าดิบเขาอุดมสมบูรณ์มีฝนตกชุก อากาศชื้นมาก ต้นไม้คายน้ำได้น้อย ใบไม้ย่อยสลายช้า มีสภาพเหมือนผ้าห่มพร้อมซับน้ำฝน
มีน้ำตกขนาดเล็ก ไหลมาเป็นลำห้วย ในยุคแรกน้ำตกไหลรุนแรง เกิดเป็นหลุมลึก และในยุคปัจจุบันสายน้ำเปลี่ยนทางไหล ปริมาณน้ำลดลง น้ำที่ไหลจากน้ำตกเป็นน้ำสะอาด มีธาตุอาหารสูง ปลายทางของน้ำจะไหลลงสู่แม่น้ำปิง