Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสื่อสารทางบวก ศิลปะและการใช้ภาษาในการพูดให้คำปรึกษา (เทคนิคการสื่อสารท…
การสื่อสารทางบวก
ศิลปะและการใช้ภาษาในการพูดให้คำปรึกษา
การสื่อสารทางบวกกับวัยรุ่น
คือ
รูปแบบและเทคนิคการสื่อสารเชิงสร้างสรรค์
เป็นกระบวนการติดต่อ สัมพันธ์
เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดี ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ
เทคนิคการสื่อสารทางบวก
๑ ปรับทัศนคติของตนให้รู้สึกดีกับวัยรุ่น
มองในแง่ดี เป็นกลาง
เห็นใจ
มีความเข้าใจ
๒ จัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับการสนทนา
เป็นที่ส่วนตัว สงบ
บรรยากาศดี
๓ ทักทายด้วยความจริงใจ
ครูควรรู้จักพื้นฐานนักเรียนบ้าง
โดยเฉพาะด้านดีๆ
๔ เริ่มสนทนาจากข้อดีของวัยรุ่น
โดยการคุยเรื่องที่วัยรุ่นพอใจหยิบยกมา
เป็นจุดเริ่มต้นก่อน
๕ พยายามสำรวจลงไปให้ถึงปัญหาที่แท้จริง
สำรวจปัญหา/ความคับข้องใจของผู้เรียนโดยใช้เทคนิคการถาม
ควรสังเกตท่าที ความร่วมมือ
ไม่อยากเล่าในช่วงแรก ควรข้ามไปก่อน
ค่อยกลับมาคุยกันอีก
๖ ฟังอย่างตั้งให้เพื่อเก็บข้อมูล
การสื่อสารที่ดีควรเป็นไปแบบสองทาง คือการฟัง และการพูด
แสดงออกโดยสนใจฟัง จดจำรายละเอียด สอบถามเมื่อสงสัย
๗ หลีกเลี่ยงการใช้คำถามที่ขึ้นต้นว่า “ทำไม”
ผลที่ตามมามักเป็นด้านลบ คือ วัยรุ่นรู้สึกถูกตำหนิว่าตนเองไม่ดี
๘ ใช้คำพูดที่ขึ้นต้น ฉันมากกว่าเธอ
เพราะน่าฟังและทำให้วัยรุ่นรู้สึกด้านบวกกว่า
๙ กระตุ้นให้บอกความคิด ความรู้สึก
โดยรับฟังนักเรียนให้มากๆ ให้เขารู้สึกว่า
การพูดบอก เรื่องเหล่านี้เป็นเรื่องปกติ
๑๐ ถามความรู้สึก สะท้อนความรู้สึก
จะช่วยสร้างความรู้สึกการประคับประคองทางจิตใจ
เทคนิคการสื่อสารทางบวก (เพิ่ม)
๑๑ ถามความคิดและสะท้อนความคิด
เป็นเทคนิคแสดงความสนใจ พยายาม
เข้าใจ และให้เกียรติความคิดวัยรุ่น
ทำให้
เกิดความสัมพันธ์ที่ดี รู้สึกเป็นพวกเดียวกัน
ชักจูงให้เปลี่ยนพฤติกรรมง่ายขึ้น
๑๒ กระตุ้นให้เล่าเรื่องต่อ
ทำได้โดยใช้ชุดคำถามที่จูงใจ ตามปัญหาหรือเรื่องราวที่เกิดขึ้น
ใช้การพูดหรือถามแบบไม่คาดคั้น
๑๓ ใช้ภาษากายประกอบการสนทนา
ถ่ายทอดความรู้สึกดีทางสีหน้า แววตา
ทำให้เกิดความเป็นกันเอง
๑๔ แสดงท่าทีเป็นกลางต่อพฤติกรรมเสี่ยง
ช่วยให้วัยรุ่นเปิดเผยมากขึ้น
๑๕ ใช้เทคนิคชมบนหลังคา ด่าที่ใต้ถุน
เมื่อมีพฤติกรรมดี ครูควรชม
มีพฤติกรรมไม่ดี ครูควรมีเทคนิคในการตักเตือน
๑๖ ตำหนิที่พฤติกรรม ไม่ตำหนิที่ตัวบุคคล
ระวังปฏิกิริยาต่อต้านไม่ยอมรับ
ไม่ควรตำหนิด้วยคำพูดว่า เป็นนิสัยไม่ดีหรือสันดานไม่ดี
๑๗ กระตุ้นให้คิดด้วยตนเอง
ควรฝึกให้คิดเองก่อนเสมอ
เมื่อคิดไม่ได้จริงๆ อาจช่วยชี้แนะให้ในตอนท้าย
๑๘ ประคับประคองอารมณ์ของวัยรุ่น
ความหวังด้านบวก
ประโยชน์จากการพูดคุยกัน
ความเข้าใจ
การได้ระบายความรู้สึก
๑๙ แสดงการคาดหวังด้านบวก
ก่อนจะจบการพูดคุย ครูควรแสดงความคาดหวังด้านบวกต่อวัยรุ่น
มองเขาในแง่ดี
๒๐ สรุปและยุติการสนทนา
ควรสรุปสิ่งที่ได้คุยกัน การวางแผนต่อไปว่าจะทำอะไร
ยุติได้ดีจะช่วยให้ร่วมมือในการพบกันอีก
สรุป
เป็นเทคนิคที่มีประสิทธิภาพสำหรับครูอาจารย์
มีประโยชน์ต่อการการสร้างสอน
โครงสร้างทางร่างกาย
มีผลต่อพฤติกรรม สติปัญญาและพัฒนาการ
พันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม
องค์ประกอบทางด้านจิตใจ
ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมระหว่างผู้เรียนกับ
ผู้อื่นที่มีผลต่อพฤติกรรมการเรียน
สุขภาพจิต
ในโรงเรียน พฤติกรรมสังคม และทักษะทางสังคมของผู้เรียน
การส่งเสริมและการให้ความช่วยเหลือ
การปรับตัว
การปรับพฤติกรรม