Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้ภาษาไทยในการสร้างข้อสอบ (ลักษณะข้อสอบที่ดี (ความตรงหรือความเที่ยงตรง…
การใช้ภาษาไทยในการสร้างข้อสอบ
การเขียนข้อสอบ
การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (Achievement) คือ การวัดความรู้ ทักษะ หรือวัดความสามารถของผู้เรียนตามจุดมุ่งหมาย
ที่มีคุณภาพดี
เข้าใจจุดมุ่งหมายของรายวิชาและมีความรู้
มีความรู้เกี่ยวกับหลักการเขียนข้อสอบ
มีความสามารถในการใช้ภาษา
ลักษณะข้อสอบที่ดี
ความตรงหรือความเที่ยงตรง
ความตรงตามเนื้อหา
ความตรงตามโครงสร้าง
ความตรงตามพยากรณ์
ความเที่ยงหรือความเชื่อมั่น
สามารถวัดแล้วได้ผลคงเดิมไม่ว่าจะนำมาใช้วัดกี่ครั้งก็ตาม
เช่น
แบบสอบซ้ำ
แบบแบ่งครึ่งแบบทดสอบ
ความเป็นปรนัย
อ่านแล้วสามารถเข้าใจได้ตรงกัน
ให้คะแนนได้ตรงกัน
ค่าอำนาจจำแนกเหมาะสม
แบบทดสอบที่สามารถแสดง
ความแตกต่างของสิ่งที่ต้องการวัด
ค่าความยากง่ายพอเหมาะ
มีค่าความยากง่ายเหมาะสมกับเนื้อหา
ค่าความยากที่ใช้ได้จะมีค่า ระหว่าง .๒๐ - .๘๐
มีความยุติธรรม
ไม่ประกอบด้วยข้อสอบที่เปิดโอกาสให้ผู้เข้าสอบคนในคนหนึ่งเดาได้ถูก
ถามลึก
มีความเข้าใจการนำไปใช้ในการวิเคราะห์
ได้อย่างเหมาะสมสอดคล้อง
มีความจำเพาะเจาะจง
ประกอบด้วยข้อสอบที่มีคำถาม
เฉพาะเจาะจง มีความหมายเดียว
มีลักษณะยั่วยุ (Challenge) และเป็นตัวอย่างที่ดี
เรียงข้อจากง่ายไปยาก
ข้อสอบที่ถามแบบสถานการณ์
ถามเรื่องที่น่าสนใจ
มีประสิทธิภาพ
ถามได้ครอบคลุม ไม่ถามตามตำรา
การพิมพ์ต้องอ่านง่ายชัดเจน เวลาที่ให้เหมาะสม
หลักทั่วไป
จุดมุ่งหมาย
เพื่อวัดความรู้ความสามารถของผู้เรียน
ตามจุดมุ่งหมายที่กำหนดไว้
หลักสำคัญ
ถามให้ครอบคลุม
ถามเฉพาะสิ่งที่สำคัญ
ถามให้ลึก
ประเภท
อัตนัย
คือ
ข้อสอบแบบความเรียง ผู้ตอบแสดงความรู้หรือ
ความคิดเห็นส่วนตัวได้
หลักการ
กำหนดให้ชัดเจนว่าต้องการวัดพฤติกรรมด้านใด
เขียนคำถามให้ชัดเจน เจาะจงว่าต้องการให้ผู้ตอบทำอย่างไร
เขียนคำถามวัดพฤติกรรมระดับสูงๆ
ข้อแนะนำ
ควรสุ่มกระดาษคำตอบมาตรวจโดยเพื่อไม่ให้เกิดอคติ
ควรตรวจทีละข้อของทุกคนจนหมดก่อน
ข้อดี
วัดพฤติกรรมด้านความคิด
วัดความคิดริเริ่มและความคิดเห็นได้ดี
เดายาก
ข้อเสีย
วัดเนื้อหาได้ไม่ครอบคลุม
ตรวจให้คะแนนยากเสียเวลามาก
มีความเที่ยงน้อย
ลักษณะ
ความรู้ ความจำ
ความเข้าใจ
การนำไปใช้
การวิเคราะห์
ปรนัย
คือ
ข้อสอบที่มีคำถามจำเพาะเจาะให้ ตรวจได้
คะแนนตรงกัน มีคำสั่งวิธีการปฏิบัติ
ประเภท
แบบถูกผิด (Ture - false)
การพิจารณาสองทางเลือก
ข้อดี
เหมาะกับการวัดพฤติกรรมความรู้/ความจำ
สร้างง่าย ตรวจง่าย
หลักการ
ถามจุดสำคัญเพียงเรื่องเดียว
ชัดเจนไม่กำกวม
ถูกผิดจริงและเป็นตามสากล
ข้อเสีย
โอกาสที่เดาถูกมีมาก
วัดพฤติกรรมระดับสูงไม่ได้
แบบเติมคำ (Completion)
ต้องการให้ผู้สอบเติมคำหรือข้อความที่สำคัญ
หลักการ
เขียนคำถามให้เฉพาะเจาะให้ ให้ตอบเพียงคำตอบเดียว
เขียนคำถามให้ผู้ตอบตอบได้สั้นที่สุด
ควรให้เติมส่วนที่เป็นสาระสำคัญ
ข้อดี
เหมาะกับพฤติกรรมความรู้-ความจำ
เดาคำตอบได้ยาก
ข้อเสีย
ไม่เหมาะกับการวัดพฤติกรรมระดับสูง
ยากในการเขียนให้ได้คำตอบเดียว
แบบจับคู่ (Matching)
หลักการ
เขียนคำชี้แจงให้ชัดเจน จะให้จับคู่ได้เพียงตัวเลือกเดียว
เนื้อหาควรเป็นเอกพันธ์ คือ ถามในเรื่องเดียวกัน
ควรให้คำตอบมีมากกว่าคำถาม
ข้อดี
สามารถวัดพฤติกรรมระดับความเข้าใจ
ประหยัดเวลาในการอ่านข้อสอบทำให้สามารถออกข้อสอบได้หลายข้อ
ข้อเสีย
ใช้วัดพฤติกรรมระดับการสังเคราะห์ การประเมินค่าไม่ได้
ยากที่จะหาเนื้อหาที่เป็นเรื่องเดียวกันการจับคู่
แบบเลือกตอบ (Multiple choices)
คือ
ข้อสอบที่ประกอบด้วยข้อความที่เป็นข้อคำถาม
และมีคำตอบให้เลือกหลายๆคำตอบ
ประเภท
ตัวนำหรือตัวคำถาม
ตัวเลือก
รูปแบบ
แบบคำถามโดด
แบบตัวเลือกคงที่
การใช้ภาษา
ต้องใช้ภาษาระดับทางการ เป็นภาษาเขียนถูกต้องตามหลักภาษา
คำถามต้องเขียนในรูปประโยคคำถามที่สมบูรณ์ กะทัดรัด
ใช้คำหรือประโยคที่เฉพาะเจาะจง ชัดเจน ไม่ต้องตีความ
ต้องใช้ตัวเลือกและตัวลวงที่เป็นเอกพันธ์กัน