Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความดันโลหิตสูงเนื่องจากการตั้งครรภ์ (Pregnancy induced hypertension)…
ความดันโลหิตสูงเนื่องจากการตั้งครรภ์
(Pregnancy induced hypertension)
Pregnancy induced hypertension
-มีความดันโลหิตสูงครั้งแรกในระยะตั้งครรภ์ (ก่อนตั้งครรถ์ความดันปกติ)
-เกิดในช่วงหลังอายุครรภ์ 20 สัปดาห์ไปแล้ว
-ระดับความดันโลหิต ลดลงสู่ภาวะปกติภายใน 12 สัปดาห์ หลังคลอด BP ≥ 140/90 mmHg
Gestational hypertention
ความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภ์
ไม่พบโปรตีนในปัสสาวะ / trace/protein urea< 300 mg
Preeclampsia มี BP สูง
ร่วใมกับมีโปรตีนในปัสสาวะ
2.1 Mild preeclampsia
BP≥ 140/90 mmHg
Protein urea ≥ 300 mg./ dipstick 1+
การรักษา
ให้ผู้ป่วยได้พักผ่อน
Lab เช่น protein urea, serum cretinin,Hct,Plt, ALT.AST
NST
ultrasound เพื่อดู ขนาดทารก ปริมาณน้ำคว่ำ
การพยาบาล
อธิบายเหตุผลที่ต้อง admit
bed rest ให้มากที่สุด
รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ เน้นโปรตีน
วัดความดันโลหิตทุก 4 ชั่วโมง
ส่งเลือดและปัสสาวะ 24 ชั่วโมง ตรวจ protein urea อย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง
2.2 severe preeclampsia
BP ≥ 160/110 mmHg.
Protein urea ≥ 2 g./ dipstick 2+
มีอาการ ตาพร่ามัว ปวดศีรษะ จุกแน่นลิ้นปี่ ปัสสาวะออกน้อย < 25 mL/hr.
serum creatinin > 1.2 g/dl
ALT, AST เพิ้มขึ้น
มีภาวะปอดบวมน้ำ
การรักษา
ป้องกันภาวะชัก
MgSO4
เพิ่ม Mg ใน cns เพื่อไปสกัลกั้น receptor ของ N-methyl-D-aspartate ระงับชัก
ช่วยให้เส้นเลือดในสมองขยายตัว
-ยับยั้งการส่งสัญญาณใน neuro muscular ลดการเกร็ง
การให้ MgSO4
การให้ครั้งแรก ใช้ 10% MgSo4 ขนาด 5 กรัม push in 5 min และ v/s ทุก 5-10 นาที
การให้เพื่อควบคุมการชักต่อไป ใช้ MgSO4 iv rate 1-2 g/hr.
ในกรณีที่ฉีด MgSO4 ควรมี 10% calcium gluconata ไว้ข้างเตียงเสมอ ถ้าหญิงตังครรภ์หยุดหายใจให้ฉีด 10% calcium gluconata 10 ml push in 3 min
ระดับ MgSO4
MgSO4 ไม่ควรเกิน 4-7 mEq/L
MgSO4 >12 mEq/L ทำให้หยุดหายใจ
MgSO4 > 15 mEq/L ทำให้หัวใจหยุดเต้น
ยุติการตังครรภ์โดยเร็ว ยกเว้น ในรายที่อายุครรภ์มากกว่า 34 wk แพทย์จะให้ corticosteroid 48 hr. หลังจากนั้นจึงให้คลอดได้
ควบคุมสมดุลของ electrolyte
การพิจารณาการคลอด
< 23 wk = tweminate
23-32 wks. = corticosteroid จนกว่าจะใกล้ term
33-34 wks. = corticosterriod 48 hr จึงให้คลอด
-34 wks = ให้ MgSo4 จนควบคุมความดันโลหิจได้ ให้คลอดได้
การพยาบาล
จัดให้นอนพักในห้องที่สงบ
เตรีมให้ MgSo4 และ Calcium gluconate ให้พร้อม
ขณะฉีด MgSO4 วัดความดันโลหิตทุก 5 นาที หาก diastolicตำ่กส่า 90 mmHg ต้องรายงานแพทย์
ขณะหยุดให้ MgSO4 เฝ้าระวัง
record urine ต้องออกไม่น้อยกว่า 25 ml/hr
diastolic > 90 mmHg
RR (16-24 bpm)
Deep tendon reflex ไม่น้อยกว่า 1+
ในรายที่ได้รับ hydralazine สังเกตอาการ เช่น ใจสั่น ปวดศีรษะ อาเจียน
ประเมินสุขภาพทารก โดยติด doppler auscultation
เตรียม 02 ให้พร้อม
ดูแลสุขภาพจิต โดยอยู่ใกล้ชิด ใหเความช่วยเหลือ
ประเมินอาการเตือนที่อาจเกิดการชัก เช่น BP สูง ปวดศีรษะ ตาพร่ามัว จุกแน่นลิ้นปี่ คลื่นไส้อาเจียน พบโปนตีนในปัสสาวะ
2.3 Eclampsia
ชัก เกร็ง
แก้ไขภาวะชัก
รักษาทางเดินหายใจให้โล่ง ด้วยการใส่ oral air way
suction clear air way
ป้องกันการชักชำ้ ฉีด 10% MgSO4 5mg
ให้ O2
NPO
ยุติการตั้งครรภ์หลังจากควบคุม BP ได้
การพยาบาล
ให้ความช่วยเหลือโดยใช้อุปกรณืกดลิ้น เพื่อไม้ให้ลิ้นไปอุดกั้นทางเดินหายใจ
ให้นอนตะแคงซ้สย เพื่อไม่ให้สำลักน้ำลาย
ให้การพยาบาลอย่างใกล้ชิด
ประเมินสุขภาพทารกอย่างใกล้ชิด
ประเมินการหดดรัดตัวของมดลูก
Chronic hypertension
ภาวะความดันโลหิตสูงก่อนอายุครรภ์ 20 wk
BP สูงต่อเนื่องเกิน 12 wk หลังคลอด
นำไปสู่ superimpose preeclapsia
Two-stage disorder
ระยะที่ 1 ระยะก่อนแสดงอาการ (preclical stage)
เซลล์ของรก (trophoblasts) :ไม่สามารถฝังตัวในเยื่อบุโพรงมดลูกได้ (endometrium) ทำให้หลอดเลือดรกไม่สามารถเชื่อต่อกับหลอดเลือดของมดลูก
หลอดเลือดของมดลูก (spiral artery) : อาจมีลักษณะตีบกว่าปกติ และไม่สามารถแตกแขนงเข้าสู่รกได้
ระยะที่ 2 ระยะแสดงอาการ (Clinical stage)
เกิดจาก สารที่ยับยั้งการสร้างหลอดเลือด สูง (sFIT-1) สูกว่า สารที่ส่งเสริมการสร้างหลอดเลือด (PIGF) ทำให้หลอดเลือดของรกไม่สามารถเชท่อมต่อกับหลอดเลือดของมดลูก และ รกขาดเลือดไปเลี้ยง ทำให้เผนังหลอดเลือดเสท่อมลงและมีการหดรัดตัวของหลอดเลือด ทำให้เกิดความดันโลหิต
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
เกิดเนื้อรกตาย ทารกเจริญเติบโตช้าหรือเสียชีวิตในครรภ์
การแข็งตัวของเลือด
เกิดภาวะ DIC (disseminated intravascular coagulopathy)
สมอง
ปวดศีรษะ ตาพร่ามัว และชัก
ตับ
เกิด HELLP syndrome
เม็ดเลือดแดงแตก(hemolysis)
เอนไซม์ตับสูงขึ้น (elevated liver enzyme)
เกร็ดเลือดลดต่ำลง (low plateted)
อาการเตือน
คลื่นไส้อาเจียน กดเจ็บบริเวณชายโครงขวา
เกร็ดเลือด < 100000 mm^3
SGOT > 36 U/L
AST > 72 IU/L
LDH > 600 IU/L
bilirubin > 20 micro mol/L
ไต
โปรตีนหลั่วออกมาในปัสสาวะ
ผลกระทบต่อทารก
ทารกในครรภ์เติบโตช้า
ทารกขาด O2
เกิดภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนด(placenta abruption)
คลอดก่อนกำหนด