Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 13 พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 (บทเฉพาะกาล…
บทที่ 13
พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546
หมวด 1
สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
ส่วนที่1
บททั่วไป
มาตรา7
ให้มีสภาครูและบุคลากรทางการศึกษาเรียกว่า "คุรุสภา" มีวัตถุประสงค์และอำนาจหน้าที่ตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้
มาตรา8
คุรุสภามีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้
1 กำหนดมาตรฐานวิชาชีพ ออกและเพิกถอนใบอนุญาต
2 กำหนดนโยบายและแผนพัฒนาวิชาชีพ
3 ประสานส่งเสริมการศึกษาและการวิจัยเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพ
มาตรา 9
คุรุสภามีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
1 กำหนดมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของ
วิชาชีพ
3 ออกใบอนุญาตให้แก่ผู้ขอประกอบวิชาชีพ
4 พักใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาต
5 สนับสนุนส่งเสริมและพัฒนาวิชาชีพตาม
มาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ
2 ควบคุมความประพฤติและการดำเนินงานของผู้
ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาให้เป็นไปตาม
มาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ
6 ส่งเสริม สนับสนุน ยกย่อง และผดุงเกียรติผู้
ประกอบวิชาชีพทางศึกษา
7 รับรองปริญญาประกาศนียบัตรหรือวุฒิบัตรของ
สถาบันต่างๆตามมาตรฐานวิชาชีพ
8 รับรองความรู้และประสบการณ์ทางวิชาชีพรวมทั้ง
ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพ
9 ส่งเสริมการศึกษาและการวิจัยเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพ
10 เป็นตัวแทนผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาของ
ประเทศไทย
11 ออกข้อบังคับของคุรุสภา
(ก) การกำหนดลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 13
(ข) การออกใบอนุญาต อายุใบอนุญาต การพักใช้ใบอนุญาต การเพิกถอนใบอนุญาต
(ค) หลักเกณฑ์และวิธีการในการขอรับใบอนุญาต
(ง) คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของผู้ขอรับใบอนุญาต
(จ) จรรยาบรรณของวิชาชีพและการประพฤติผิดจรรยาบรรณอันจะนำมาซึ่งความเสี่ยงเกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพ
(ฉ) มาตรฐานวิชาชีพ
(ช) วิธีการสรรหา การเลือกตั้ง และการแต่งตั้งคณะกรรมการคุรุสภาและคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
(ซ) องค์ประกอบ หลักเกณฑ์ วิธีการคัดเลือกคณะกรรมการสรรหา
(ฌ) หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหาเลขาธิการคุรุสภา
(ญ) การใดได้ตามที่กำหนดในพระราชบัญญัตินี้
12 ให้คำปรึกษาหรือเสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรี
เกี่ยวกับนโยบายหรือปัญหาการพัฒนาวิชาชีพ
13 ให้คำแนะนำหรือเสนอแนะความเห็นต่อรัฐมนตรี
เกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพ
14 กำหนดให้มีคณะกรรมการเพื่อกระทำการใดๆอัน
อยู่ในอำนาจหน้าที่ของคุรุสภา
15 ดำเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของคุรุ
สภา
มาตรา 10
คุรุสภาอาจมีรายได้ดังนี้
ค่าธรรมเนียมตามพระราชบัญญัตินี้
เงินอุดหนุนจากงบประมาณแผ่นดิน
ผลประโยชน์จากการจัดการทรัพย์สินและการดำเนินกิจการของคุรุสภา
เงินและทรัพย์สินซึ่งมีผู้อุทิศให้แก่คุรุสภา
ดอกผลของเงิน ดอกผลของเงินและทรัพย์สินตาม (1) (2) (3) และ (4)
มาตรา 11
ค่าธรรมเนียมตามพระราชบัญญัตินี้ ให้เป็นไปตามประกาศของรัฐมนตรี ทั้งนี้ต้องไม่เกินอัตราท้ายพระราชบัญญัตินี้
ส่วนที่2
คณะกรรมการคุรุสภา
มาตรา12
ให้คณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า คณะกรรมการคุรุสภาประกอบด้วย
กรรมการโดยตำแหน่ง
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจำนวนเจ็ดคน
ประธานกรรมการ
กรรมการซึ่งได้รับแต่งตั้งจากผู้ดำรงตำแหน่งคณบดีคณะรู้ศาสตรหรือศึกษาศาสตร์
กรรมการจากผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
มาตรา 13
ประธานกรรมการ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ต้องมีคุณสมบัติทั่วไปและไม่มีลักษณะต้องห้าม
มาตรา 14
นอกจากที่บัญญัติไว้ในมาตรา 13 กรรมการที่มาจากผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาที่ดำรงตำแหน่งครูต้องมีคุณสมบัติเฉพาะดังต่อไปนี้
เป็นผู้มีใบอนุญาตและไม่เคยถูกสั่งพักใช้
หรือถูกถอนใบอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้
เป็นผู้มีประสบการณ์ด้านปฏิบัติการสอนมา
แล้วรวมกันไม่น้อยกว่า 10 ปี
มาตรา 15
นอกจากที่บัญญัติไว้ในมาตรา 13 กรรมการที่มาจากผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาที่ดำรงตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษาต้องมีคุณสมบัติตามมาตรา 14 (1)
มาตรา 16
กรรมการตามมาตรา 12 (1) (3) (4) และ(5)ให้อยู่ในตำแหน่งคราวละสี่ปี
มาตรา 17
นอกจากการพ้นตำแหน่งตามวาระของกรรมการตามมาตรา 12 (1) (3) (4) และ(5)พ้นจากตำแหน่งเมื่อ
1 ตาย
ลาออก
รัฐมนตรีโดยอนุมัติของคณะรัฐมนตรี
ให้ออกเพราะต้องต่อหน้าที่
ขาดคุณสมบัติหรือไม่ได้มีลักษณะต้องห้าม
อย่างใดอย่างหนึ่งตามมาตรา 13 มาตรา 14 หรือมาตรา 15 แล้วแต่กรณี
มาตรา 18
ก่อนครบวาระการดำรงตำแหน่งของกรรมการตามมาตรา 12 (1) (3) (4) และ(5) ไม่น้อยกว่า 90 วัน ให้รัฐมนตรีแต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาคณะหนึ่งจำนวน 11 คน จากคณะกรรมการคุรุสภาตามมาตรา 12 (2) จำนวน 5 คน
มาตรา 19
ในกรณีที่กรรมการคุรุสภาตามมาตรา 12 (1) และ(3) พ้นจากตำแหน่งก่อนครบวาระ ให้คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งผู้อื่น ซึ่งได้รับการสรรหาในระดับถัดไปดำรงตำแหน่งแทนก็ได้
มาตรา 20
ให้คณะกรรมการคุรุสภามีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
บริหารและดำเนินการตาม
วัตถุประสงค์
ให้คำปรึกษาและแนะนำแก่
คณะกรรมการมาตรฐาน
วิชาชีพ
พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์คำสั่ง
ของคณะกรรมการมาตรฐาน
วิชาชีพตามมาตรา 54
เร่งรัดให้ไปนักงานเจ้าหน้าที่
ส่วนราชการปฎิบัติตามอำนาจ
หน้าที่ที่กฎหมายกำหนด
แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อ
กระทำใดๆอันอยู่ในอำนาจและ
หน้าที่ของคณะกรรมการคุรุสภา
1 more item...
ส่วนที่3
คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
มาตรา 21
ให้มีคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพประกอบด้วย
ประธานกรรมการซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งจากกรรมการ
ผู้ทรงคุณวุฒิ ในคณะกรรมการคุรุสภา
กรรมการโดยตำแหน่ง
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจำนวนสี่คน
กรรมการจากคณาจารย์ในคุรุสภาศึกษาศาสตร์
ในการศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน
กรรมการจากผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
จำนวนหกคน
มาตรา 22
การสรรหาการเลือกและการเลือกตั้ง
กรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
มาตรา 23
กรรมการมาตรฐานวิชาชีพตามมาตรา 21 (3) (4) และ(5) ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม
มาตรา24
กรรมการมาตรฐานวิชาชีพตามมาตรา 21 (1) (3) (4) และ(5)ให้อยู่ในตำแหน่งคราวละสี่ปี
มาตรา 25
คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพมี
อำนาจและหน้าที่
พิจารณาการออกใบอนุญาตให้แก่ผู้
ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาและการ
พักใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาต
กำกับดูแลการปฏิบัติตามมาตรฐาน
และจรรยาบรรณของผู้ประกอบ
วิชาชีพทางการศึกษา
ส่งเสริม พัฒนา และเสนอแนะ
ส่งเสริม ยกย่อง และพัฒนาวิชาชีพ
แต่งตั้งที่ปรึกษา คณะอนุกรรมการ หรือมอบหมายกรรมการวิชาชีพ
1 more item...
ส่วนที่4
การดำเนินงานของคุรุสภา
มาตรา 26
ให้คณะกรรมการคุรุสภามีการ
ประชุมอย่างน้อยเดือนละหนึ่งครั้ง
มาตรา 27
ในการประชุมถ้าประธานกรรมการ คุรุสภาไม่อยู่ในที่ประชุมหรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ให้ที่
ประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานในที่ประชุม
มาตรา 28
รัฐมนตรีจะเข้าร่วมประชุมและ
ชี้แจงแสดงความเห็นในที่ประชุม
คณะกรรมการคุรุสภา
มาตรา 29
ให้นำความในมาตรา 26 และมาตรา
27 มาใช้บังคับกับการประชุมของ
คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพหรือ
คณะอนุกรรมการโดยอนุโลม
มาตรา 30
ในการปฎิบัติหน้าที่ตามพระราช
บัญญัตินี้ให้กรรมการคุรุสภากรรมการ
มาตรฐานวิชาชีพอนุกรรมการหรือเจ้า
หน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในการควบคุมการ
ผลิตประกอบวิชาชีพเป็นเจ้าพนักงาน
ตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา31
ให้คณะกรรมการคุรุสภาและคณะ
กรรมการมาตรฐานวิชาชีพมีอำนาจ
เรียกบุคคลใดใดมาให้ถ้อยคำหรือ
แจ้งให้บุคคลใดใดส่งเอกสารหรือ
วัตถุพยานที่จำเป็นต่อการดำเนินงาน
ตามอำนาจและหน้าที่
มาตรา 32
ให้กรรมการคุรุสภากรรมการ
มาตรฐานวิชาชีพอนุกรรมการและ คณะทำงานได้รับเบี้ยประชุมและ
ประโยชน์ตอบแทนอื่นตามระเบียบ
ที่รัฐมนตรีกำหนด
มาตรา 33
กรรมการคุรุสภาตามมาตรา 12 (3)
(4) และ (5) จะดำรงตำแหน่งตาม
มาตรา 21(3) (4) และ(5) และ
มาตรา 64 (3)และ(4) แล้วแต่กรณี
ในคราวเดียวกันไม่ได้
มาตรา 34
ให้มีสำนักเลขาธิการ
คุรุสภามีหน้าที่
รับผิดชอบเกี่ยวกับการ
ดำเนินงานของคุรุสภา
ประสานและดำเนินการ
เกี่ยวกับกิจการอื่นที่คุรุ สภามอบหมาย
จัดทำรายงานประจำปี
เกี่ยวกับการดำเนินงาน
เสนอต่อคุรุสภา
มาตรา 35
ให้สำนักงานเลขาธิการครูรุ
สภามีเลขาธิการคุรุสภาคน
หนึ่งบริหารกิจการของ
สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา
มาตรา 36
เลขาธิการคุรุสภาต้องเป็นผู้ สามารถทำงานให้แก่
สำนักงานเลขาธิการคุรุสภาได้
เต็มเวลา
มาตรา 37
เลขาธิการคุรุสภามีวาระอยู่ใน
ตำแหน่งคราวละสี่ปี
มาตรา 38
นอกจากการพ้นจากตำแหน่ง
ตามวาระและเลขาธิการคุรุ
สภาพ้นจากตำแหน่งเมื่อ
ตาย
ลาออก
คณะกรรมการคุรุสภาออกให้
ออกตามกรณีที่กำหนดไว้ในข้อตกลง
มีลักษณะต้องห้ามอย่างหนึ่งอย่างใดตาม
มาตรา 36
มาตรา 39
เลขาธิการคุรุสภามีหน้าที่บริหารกิจการของสำนักงานเลขาธิการคุรุสภาให้เป็นไปตามกฎหมาย
มาตรา 40
เลขาธิ เลขาธิการคุรุสภามีอำนาจ
บรรจุ แต่งตั้ง เลื่อน ลด ตัดเงินเดือน หรือค่าจ้างลงโทษทางวินัย
วางระเบียบเกี่ยวกับการดำเนิน
งานของสำนักงานเลขาธิการคุรุสภาโดยไม่ขัดหรือแย้งกับ
ระเบียบข้อบังคับ
มาตรา 41
ในกิจการที่เกี่ยวกับบุคคลภายนอกให้
เลขาธิการคุรุสภาเป็นผู้แทนของคุรุสภา
เพื่อการนี้
มาตรา 42
ให้คณะกรรมการกลุ่มสภาเป็นผู้กำหนดอัตราเงินเดือนและประโยชน์ตอบแทนอื่นของเลขาธิการคุรุสภาโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
ส่วนที่5
การประกอบวิชาชีพควบคุม
มาตรา 43
ให้วิชาชีพครูผู้บริหารสถานศึกษาและผู้
บริหารการศึกษาเป็นวิชาชีพควบคุม
ตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา 44
ผู้ขอรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ
ควบคุมต้องมีคุณสมบัติและไม่มี
ลักษณะต้องห้าม
มาตรา 45
การขอรับไปอนุญาต การออกไปอนุญาต
การกำหนดอายุใบอนุญาต การต่ออายุใบอนุญาต การขอรับใบแทนอนุญาต และการออกใบแทนใบอนุญาต ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์วิธีการและเงินไขที่กำหนดในข้อบังคับของคุรุสภา
มาตรา46
ห้ามมิให้ผู้ใดแสดงด้วยวิธีใดใดให้ผู้
อื่นเข้าใจว่าตนมีสิทธิ์หรือพร้อมจะ
ประกอบวิชาชีพโดยไม่ได้รับใบ
อนุญาตจากคุรุสภา
มาตรา 47
ผู้ซึ่งได้รับใบอนุญาตต้องประกอบอาชีพได้บังคับแห่งข้อใดตามข้อบังคับของคุรุสภา
มาตรา48
ผู้ซึ่งได้รับมาตรฐานวิชาชีพตามที่กับข้อบังคับของคุรุสภา
มาตรา49
ให้มีความบังคับว่าด้วยมาตรฐาน
วิชาชีพประกอบด้วย
มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ
มาตรฐานการปฏิบัติงาน
มาตรฐานการปฏิบัติตน
มาตรา 50
มาตรฐานการปฏิบัติตนให้กำหนดเป็นข้อบังคับว่าด้วยจรรยาบรรณของวิชาชีพ
มาตรา 51
บุคคลซึ่งได้รับความเสียหายจากการประพฤติผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพของผู้ได้รับใบอนุญาตมีสิทธิ์กล่าวหาผู้ได้รับใบอนุญาตผู้นั้นโดยทำเรื่องยื่นต่อคุรุสภา
มาตรา 52
เมื่อคุรุสภาได้รับเรื่องการกล่าวหาหรือการกล่าวโทษตามมาตรา 51 ให้เลขาธิการคุรุสภาเสนอเรื่องดังกล่าวต่อคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพโดยไม่ชักช้า
มาตรา 53
ให้ประธานกรรมการมาตรฐานวิชาชีพมีหนังสือแจ้งข้อกล่าวหาหรือข้อกล่าวโทษพร้อมทั้งส่งสำเนาเรื่องที่กล่าวหาให้ผู้ได้รับใบอนุญาตล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 15 วันก่อนเริ่มพิจารณา
มาตรา 54
คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพมีอำนาจวินิจฉัยชี้ขาดอย่างใดอย่างหนึ่ง
มาตรา 55
ผู้ได้รับใบอนุญาตซึ่งคณะกรรมการการมาตรฐาน
วิชาชีพวินิจฉัยชี้ขาดตามมาตรา 54 (2) (3) (4)
หรือ(5) อาจอุทธรณ์คำวินิจฉัยต่อคณะกรรมการคุรุ สภาภายใน 30 วันนับตั้งแต่วันที่ได้รับแจ้งคำวินิจฉัย
มาตรา 56
ห้ามไม่ให้ผู้ได้รับใบอนุญาตฉันอยู่ในระหว่างถูกสั่ง
พักใช้ใบอนุญาต
มาตรา 57
ผู้ได้รับใบอนุญาตฉันถูกฉันเพิกถอนจะยื่นขออีกไม่
ได้จนกว่าจะพ้นห้าปีนับแต่วันที่ถูกสั่งเพิกถอน
ส่วนที่ 6
สมาชิกคุรุสภา
มาตรา 58
สมาชิกของคุรุสภามีสองประเภท
สมาชิกสมัญ
สมาชิกกิตติมศักดิ์
มาตรา 59
สมาชิกสามัญต้องเป็นต้อง
ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 13 (ข) (1) (2) และ(3) และเป็นผู้มีใบอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา 60
สิทธิและหน้าที่ของสมาชิกสามัญ
แสดงความเห็นและซัก
ถามเป็นหนังสือ
เลือก รับเลือกตั้้ง ตามมาตรา 12 หรือมาตรา 21
ชำระค่าทำเนียมตามประกาศของคุรุสภา
ผดุงไว้ซึ่งเกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพ
มาตรา 61
สมาชิกสภาพของสมาชิกย่อม สิ้นสุดเมื่อ
ตาย
ลาออก
คณะกรรมการคุรุสภามีมติ
ถอดถอนเป็นสมาชิกกิตติมศักดิ์
ถูกเพิกถอนใบอนุญาต
หมวด 2
คณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการ
และสวัสดิภาพครูและบุคลากร
ทางการศึกษา
ส่วนที่ 1
บททั่วไป
มาตรา 62
ให้มีคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและ
สวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาทำ
หน้าที่บริหารงานสำนักงานคณะกรรมการการ
ส่งเสริมบริการและสวัสดิภาพครูและบุคลากร
ทางการศึกษา
มาตรา 63
คณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและ
สวัสดิภาพครูและบุคลากรการศึกษามี
อำนาจหน้าที่
ดำเนินงานด้านสวัสดิการ สวัสดิภาพ
สิทธิประโยชน์เกื้อกูลอื่น
ส่งเสริมสนับสนุนยกย่องและผดุงเกียรติ
ของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
ส่งเสริมให้ผู้ประกอบวิชาชีพทางการ
ศึกษาและผู้ปฏิบัติงานด้านการศึกษาได้
รับสวัสดิการด้านต่างๆตามสมควร
ให้ความเห็นคำปรึกษาและคำแนะนำในเรื่องการส่งเสริมสวัสดิการสวัสดิภาพสิทธิประโยชน์และ
ความมั่นคงของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
ดำเนินงานและบริหารจัดการองค์การจัดหาผล
ประโยชน์ของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม
สวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
ออกข้อบังคับและหลักเกณฑ์ในการดำเนินกิจการ
แต่งตั้งคณะกรรมการหรืออนุกรรมการ
สรรหาและแต่งตั้งเลขาธิการคณะกรรมการ
ส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครู
ดำเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ใน
การบริหารสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการ
และภาพครู
มาตรา 64
ให้คณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสิริภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
ปลัดกระทรวงศึกษาธิการเป็นประธาน
กรรมการโดยตำแหน่ง
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจำนวนสามคน
กรรมการที่ได้รับการเลือกตั้งจากผู้
ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
มาตรา 65
กรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและ
บุคลากรการศึกษาตามมาตรา 64 (3) และ(4) ต้อง
มีคุณสมบัติทั่วไปและไม่มีลักษณะต้องห้าม
มาตรา 66
การประชุมของคณะกรรมการส่งเสริมสวัสิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาให้นำความในมาตรา 26 และมาตรา 27 มาใช้บังคับโดยอนุโลม
ส่วนที่ 2
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและ
บุคลากรทางการศึกษา
มาตรา 67
ให้มีสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและ
สวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษามีฐานะเป็นนิติบุคคลในกำกับของกระทรวงศึกษาธิการ
มาตรา 68
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและ
สวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษามีรายได้
เงินอุดหนุนจากงบประมาณแผ่นดิน
เงินค่าบำรุงและค่าธรรมเนียมต่างๆ
เงินผลประโยชน์ต่างๆจากการลงทุนและการจัดหา
ผลประโยชน์
เงินอุดหนุนจากภาคเอกชนหรือองค์กรอื่นรวมทั้ง
จัดต่างประเทศ
ดอกผลของเงินและทรัพย์สินตาม (2) (3) (4) และ(5)
ผลประโยชน์จากการจัดการทรัพย์สินและการดำเนินกิจการ
มาตรา 69
ให้สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา 70
เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและ
บุคลากรทางการศึกษาต้องเป็นผู้สามารถทำงานให้สำนักงานคณะ
กรรมการส่งเสริมสาริกาและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
ได้เต็มเวลา
มาตรา 71
เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและ
บุคลากรทางการศึกษามีหน้าที่บริหารกิจการของสำนักงานคณะ
กรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการ
ศึกษาให้เป็นไปตามกฎหมาย
มาตรา 72
เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและ
สวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษามีอำนาจดังนี้
บรรจุ แต่งตั้ง เลื่อน ลด ตัดเงินเดือนหรือค่าจ้าง
วางระเบียบเกี่ยวกับการดำเนินงานของ
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการ
และสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการ
ศึกษาโดยไม่ขัดหรือแย้งกับระเบียบ
มาตรา 73
ในกิจการที่เกี่ยวกับบุคคลภายนอกให้เลขาธิการคณะกรรมการส่ง
เสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาเป็นผู้
แทนของคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครู
มาตรา 74
ให้คณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาเป็นผู้กาหนดอัตราเงินเดือนและผลประโยชน์ตอบแทนอื่นของเลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
หมวด 3
การกำกับดูแล
มาตรา 75
ให้รัฐมนตรีมีอำนาจหน้าที่นำต่อไปนี้
กำกับดูแลการดำเนินงานของคุรุสภาและสำนักงานคณะ
กรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากร
ทางการศึกษา
สั่งเป็นหนังสือให้กรรมการชี้แจงข้อเท็จจริงเกี่ยว
กับกิจการของคุรุสภาและสำนักงานคณะกรรมการส่ง
เสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการ
ศึกษา
สั่งเป็นหนังสือให้คุรุสภาและคณะกรรมการส่งเสริม
สวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการ
ศึกษาระงับหรือแก้ไขการกระทำใดใดทิพย์ปรากฏว่าขัดต่อวัตถุประสงค์
มาตรา 76
ให้คุรุสภาเสนอรายงานประจำปีกับผลการดำเนินงานด้านต่างๆของคุรุสภา
มาตรา 77
ให้สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินตรวจ
สอบการปฎิบัติงานด้านการเงินการบัญชี
ของคุรุสภาเป็นประจำทุกปีแล้วรายงานให้รัฐถ้าสภาทราบ
หมวด 4
บทกำหนดโทษ
มาตรา 78
ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 43 ต้องระวังโทษจำคุก
ไม่เกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกิน 20,000บาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา 79
ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 46 หรือมาตรา 56 ต้อง ระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกิน 60,000 บาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
บทเฉพาะกาล
มาตรา 80
ในวาระเริ่มแรกให้คณะกรรมการอำนวยการคุรุสภาเท่าที่มีอยู่ตามพระราชบัญญัติครูพุทธศักราช 2488 ปฎิบัติ
หน้าที่คณะกรรมการคุรุสภาและคณะกรรมการส่งเสริม
สวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
ตามพระราชบัญญัตินี้ไปพลางก่อน
มาตรา 81
ให้คณะกรรมการคุรุสภาตามมาตรา 12 และคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูตามมาตรา 64 ดำเนินการให้มีการแต่งตั้งเลขาธิการคุรุสภาและเลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครู
มาตรา 82
ให้เลขาธิการคุรุสภาตามพระราชบัญญัติครูพุทธศักราช 2488 ปฎิบัติหน้าที่เลขาธิการคุรุสภาและเลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครู
มาตรา 83
ให้โอนบรรดากิจการ เงิน ทรัพย์สิน หนี้สิทธิต่างๆของคุรุสภาตามพระราชบัญญัติครูพุทธศักราช 2488
มาตรา 84
ผู้ใดเป็นครูซึ่งเป็นสมาชิกของคุรุสภาตามพระราชบัญญัติครูพุทธศักราช 2488 อยู่แล้วก่อนพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับมีสิทธิ์ได้รับไปอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา 85
ในวาระเริ่มแรกให้คุรุสภาออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูแก่ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาที่ดำรงตำแหน่งครูผู้บริหารสถานศึกษาผู้บริหารการศึกษาและบุคลากรทางการศึกษาอื่น
มาตรา 86
ในวาระเริ่มแรกมีให้นำความในมาตรา 14 (1) มาใช้บังคับแก่กรรมการคุรุสภาและกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครู
มาตรา 87
ในวาระเริ่มแรกของการเลือกกรรมการซึ่งเป็นผู้แทนจากผู้ดำรงตำแหน่งคณบดีคณะครถศาสตร์หรือการศึกษาให้เลือกผู้แทนจำนวนสี่คนจากสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและเอกชน
มาตรา 88
ให้วุซื้อปริญญาทางการศึกษาหรือเป็นยาอื่นที่ ก.ค. กำหนดให้เป็นคุณนวุฒิที่ใช้ในการบรรจุและแต่งตั้งเป็นข้าราชการครู
มาตรา 89
ให้สมาชิกคุรุสภาตามพระราชบัญญัติครูจะศักราช 2488 ที่ได้รับสิทธิประโยชน์และสวัสดิการต่างๆอยู่ก่อนพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
มาตรา 90
ในระหว่างที่ยังมิได้ออกคำสั่ง ประกาศ หรือระเบียบ เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ให้นำคำสั่งประกาศหรือระเบียบที่ออกตามพระราชบัญญัติครูพุทธศักราช 2488 ซึ่งไม่ขัดหรือแย้งกับพระราชบัญญัตินี้มาใช้บังคับโดยอนุโลม
นางสาวอัสมะอ์ เซ็งยี เลขที่ 20
รหัส 6220160450 กลุ่ม 6