Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตกเลือดหลังคลอด (postpartum hemorrhage) (สาเหตุของการตกเลือดหลังคลอดใ…
การตกเลือดหลังคลอด
(postpartum hemorrhage)
การตกเลือดหลังคลอด แบ่งออกเป็น 2 ระยะ ดังนี้
การตกเลือดหลังคลอดในระยะหลัง (late or secondary postpartum hemorrhage)
เกิดหลังคลอด 24 ชั่วโมงไปจนถึง 6 สัปดาห์หลังคลอด
การตกเลือดหลังคลอดในระยะแรก (early or immediate or primary postpartum
hemorrhage)
เกิดภายใน 24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
สาเหตุของการตกเลือดหลังคลอดในระยะหลัง (late postpartum hemorrhage)
ภาวะติดเชื้อในโพรงมดลูก
เลือดออกจากแผลในช่องทางคลอด เกิดขึ้นได้จากการอักเสบติดเชื้อในช่องทางคลอด ทำให้เกิดการลุกลามออกไปจนถึงบริเวณหลอดเลือด ส่งผลให้มีเลือดออกจำนวนมาก ส่วนมากมักเกิดขึ้น ในระหว่างสัปดาห์ที่ 2 หลังคลอด
มดลูกเข้าอู่ช้า อาจมีอาการอักเสบของเยื่อบุโพรงมดลูกร่วมด้วย อาการมักเกิด ภายหลังคลอดไปแล้ว 5 สัปดาห์
เศษรกหรือเยื่อหุ้มทารกค้าง อาจเกิดจากเศษชิ้นส่วนของเนื้อรก รกน้อย หรือเยื่อหุ้มทารก ค้างอยู่ในโพรงมดลูก พบได้บ่อยมาก ส่วนใหญ่แล้วมักจะมีเลือดออกภายหลังการคลอดประมาณ 1 สัปดาห์ ซึ่งเป็นระยะที่ decidua ในโพรงมดลูกมีการสลายตัวมากที่สุด เศษรกจึงหลุดออกมา เป็นการท าให้หลอดเลือดบริเวณโพรงมดลูกเปิดออก
สาเหตุอื่นๆ เช่น ครรภ์ไข่ปลาอุก เนื้องอกของตัวมดลูก เป็นต้น
ความหมาย
การสูญเสียเลือดมากกว่าหรือเท่ากับ 500 มิลลิลิตร จากกระบวนการคลอดปกติหรือร้อยละ 1 ขอลน้ำหนักตัวมารดาหลังคลอด
มากกว่าหรือเท่ากับ 1,000 มิลลิลิตรจากการผ่าตัดคลอด
วินิจฉัยจากความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดงที่ลดลงมากกว่า ร้อยละ 10 เทียบจากระยะก่อนคลอด
และวินิจฉัยจากอาการแสดงถึงการช็อกจาก การเสียเลือด
อาการและอาการแสดงของการตกเลือดหลังคลอด
ลักษณะน้ำคาวปลา การติดเชื้อในโพรงมดลูก น้ำคาวปลาจะเหม็น มีสีแดงคล้ำหรือ
สีน้ำตาลเป็นเวลานาน และมีอุณหภูมิกายสูงขึ้น
อาการปวดท้องน้อย พบได้ในรายที่มีภาวะมดลูกปลิ้น จะมีอาการปวดท้องน้อยรุนแรง
รู้สึกปวดหน่วงในอุ้งเชิงกราน หรือมีก้อนจุกอยู่ที่ช่องคลอด ถ้าโผล่ออกมาภายนอกช่องคลอดจะสังเกตได้
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี จะคลำพบระดับมดลูกอยู่สูงและขนาดโตขึ้น อาจสูงถึงระดับสะดือ
หรือเหนือสะดือได
มีเลือดออกทางช่องคลอด ลักษณะของเลือดที่ออกจะมีความแตกต่างกันตามสาเหตุ
กรณีที่ตกเลือดหลังคลอดระยะหลังมักจะมีเลือดออกทางช่องคลอดเกิดขึ้นประมาณระยะ 3 สัปดาห์
หลังคลอด ส่วนใหญ่พบในระหว่างวันที่ 4 - 9 หลังคลอด
Uterine Atony
มดลูกนุ่ม ลอยสูงเหนือสะดือ
คลึงมดลูกจะมีก้อนเลือดหรือเลือดสดไหลออกจากช่องคลอด
Bleeding per vagina
Late PPH : สีแดงคล้ำ มักพบใน 4-9 วัน หลังคลอด
Early PPH : สีแดงคล้ำ ปนลิ่มเลือด ออกทันที หลังคลอด
ผลกระทบของการตกเลือดหลังคลอด
2.ร่างกายขาดออกซิเจน
Sheehan’s syndrome
ภาวะชีแฮนซินโดรม คือภาวะที่ต่อมพิทูอิตารีย์ส่วนหน้า (anterior pituitary gland) ขาดเลือด ไปเลี้ยงและเกิดการตายของเซลล์ (ischemia and necrosis) เกิดจากการเสียเลือดปริมาณมาก อย่างเฉียบพลัน มักพบในกรณีตกเลือดหลังคลอด
อาการ
Thyroids : พูดช้า คิดช้า เซื่องซึม กินจุ อ้วน ผมร่วง
Mammary : น้ำนมไหลน้อย น้ำนมไม่ไหล
Adrenal : Electrolyte imbalance
ภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับสารน้ าหรือเลือด
blood group incompatibility
ปอดบวมน้ำ
ปัสสาวะลำบาก/ปัสสาวะไม่ออก
ระบบการไหลเวียนเลือดลดลง
อาจทำให้เกิดภาวะไตล้มเหลวได้ (renal
shutdown)
ผลกระทบระยะยาว
ทุพพลภาพ/เสียภาพลักษณ์
ความสามารถในการแสดงบทบาทการเป็นมารดา
โลหิตจาง อ่อนเพลีย ระบบภูมิคุ้มกันอ่อนแอลง ติดเชื้อหลังคลอด
การประเมินและการวินิจฉัยภาวะตกเลือดหลังคลอด
การประเมินในระยะแรกรับ
ความเสี่ยงระดับปานกลาง ได้แก่ prior uterine surgery or C/S multiple gestation,> 4 prior births, prior obstetric hemorrhage, large myomas, EFW > 4,000 กรัม, Hct < 30%
ความเสี่ยงระดับสูง ได้แก่ placenta previa, placenta accreta/percreta, Plt < 70,000 /mm3 , active bleeding, การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ, มีความเสี่ยงระดับ ปานกลางมากกว่า 2 ปัจจัยขึ้นไป
Gonad : ไม่มีประจำเดือน ผิวหนังหยาบกร้าน เต้านมเหี่ยวแห้ง อารมณ์ทางเพศเปลี่ยนแปลง และ ช่องคลอดแห้ง
การประเมินในระยะคลอด
ความเสี่ยงระดับปานกลาง ได้แก่ chorionitis, prolonged oxytocin > 24 hr, prolonged second stage, magnesium sulfate
ความเสี่ยงระดับสูง ได้แก่ active bleeding, มีปัจจัยเสี่ยงระดับปานกลางมากกว่า 2 ปัจจัยขึ้นไป
การประเมินในมารดาหลังคลอด
โดยใช้อักษรย่อ B-BUBBLE ได้แก่ Blackground, Body condition, Breast and Lactation, Uterus, Bladder, Bleeding per vagina / Lochia และ Episiotomy
การตรวจร่างกาย
คาดคะเน B/V
สังเกตอาการแสดงของการเสียเลือด
ตรวจการหดรัดตัวของมดลูก และการฉีกขาดของช่องคลอด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC, PT, PTT,
platelets count,
fibrinogen concentration
การรักษาภาวะตกเลือดหลังคลอด
ขั้นตอนที่ 1 การประเมินและรักษาขั้นต้น
ขั้นตอนที่ 2: การดูแลรักษาตามสาเหตุหลัก (4T’s)
ขั้นตอนที่ 3: กรณีไม่ตอบสนอ ต่อการรักษาเบื้องต้น
ขั้นตอนที่ 4: กรณีเลือดออกไม่หยุดหลังตัดมดลูก
นางสาวสุชัญญา แก้วหล่อ เลขที่ 61A