Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ.2550 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2554
พระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ.2550 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2554
หมวด 2 โรงเรียนในระบบ ส่วนที่ 1 การจัดตั้งและเปิดดำเนินการ
มาตรา 17 ประเภทและระดับของโรงเรียนในระบบ ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการกำหนด
มาตรา 18 การจัดตั้งดรงเรียนในระบบต้องได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาต
มาตรา 19 ตราสารจัดตั้งตามมาตรา 18 วรรค 2 วัตถุประสงค์ ชื่อ ประเภท ระดับ ของโรงเรียนในระบบ
มาตรา 20 กิจการของโรงเรียนในระบบตามาตรา 18 วรรค 2 ต้องมีรายการโครงการและแผนการดำเนินงาน
มาตรา 21 ผู้ขอใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนในระบบที่เป็นบุคคลธรรมดา มีสัญชาติไทย
มาตรา 22 ผู้ใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนในระบบที่เป็นนิติบุคคล
มาตรา 23 ผู้ขอรับใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนในระบบต้องมี
หลักฐาน จัดตั้งโรงเรียนในระบบแล้ว
มาตรา 24 เมื่อได้รับใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนในระบบแล้ว ให้โรงเรียนในระบบเป็นนิติบุคคลนับแต่วันที่ได้รับใบอนุญาต
มาตรา 25 เมื่อโรงเรียนในระบบเป้นนิตบุคคลตามมาตรา 24 แล้ว โอนกรรมสิทธิ์ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์
มาตรา 26 เมื่อผู้รับใบอนุญาตได้ดำเนินการมาตรา 25 แล้สให้แจ้งให้ผู้อนุญาตทราบล่วงหน้า ไม่น้อยกว่า 30 วันก่อนวันดำเนินกิจการ
มาตรา 27 การโอนกรรสิทธิ์และสิทธิครอบครองในที่ดินให้แก่โรงเรียนในระบบ
มาตรา 28 ชื่อของโรงเรียนในระบบมีคณกรรมการบริหาร
มาตรา 30 ให้โรงเรียนในระบบต้องใช้อัษรไทยขนาดใหญ่
มาตรา 31 ให้คณะกรรมการบริหารของโรงเรียนในระบบมีอำนาจหน้าที่ออกระเบียบและข้อบังคับต่างๆ
มาตรา 32 การกำหนดค่าธรรมเนียมการศึกษา
มาตรา 33 ในกรณีที่คระกรรมการเห็นว่าการกำหนดค่าธรรมเนียมการศึกษาและค่าธรรมเนียมอื่นตามมาตรา32
มาตรา 34 ในกรณีกระทรวงศึกษาการเห็นว่าค่าธรรมเนียมการศึกษาและค่าธรรมเนียมอื่นที่โรงเรียนในระบบกำหนดตามมาตรา 32
มาตรา 35 โรงเรียนในระบบใดไม่เรียกเก็บค่าธรรมเนียมการศึกษาและค่าธรรมเนียมการศึกษาต่ำกว่าอัตรา
มาตรา 36 คณะกรรมการการบริหารต้องจัดให้มีการประชุมอย่างน้อย 1 ครั้ง ในแต่ละภาคการศึกษาปกติ
มาตรา 37 ให้ผู้รับใบอนุญาตแต่งตั้งผู้อำนวยการคนหนึ่งเป็นผู้ดูแลรับผิดชอบการบริหารจัดการโรงเรียนในระบบ
มาตรา 38 ภายใต้ บังคับมาตรา 37 วรรค3
มาตรา 39 ผู้อำนวยการมีหน้าที่และความรับผิดชอบ ดูแลรับผิดชอบงานด้านวิชาการ
มาตรา 40 ให้ผู้รับใบอนุญาตแต่งตั้งผู้จัดการคนหนึ่ง
มาตรา 41 ในกรณีที่ผู้รับใบอนุญาตเป้นบุคคลธรรมดา
มาตรา 42 ให้โรงเรียนในระบบจัดให้ มีครูและบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียน
มาตรา 43 เอกสารที่โรงเรียนในระบบต้องจัดทำตามพรบ.นี้
หมวด 1 คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
มาตรา 9 ให้กรรมการตามมาตรา 8 (3) (4)และ (5) มีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละ 3 ปี
มาตรา 10 พ้นจากตำแหน่งตามวาระตามมาตรา 9 กรมมการตามมาตรา 8 (3) (4)และ(5)พ้นจากตำแหน่งเมื่อตาย
มาตรา 8 ให้คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
มาตรา 11 ในกรณีที่กรรมการตามมาตรา 8 (3)(4)หรือ(5) พ้นจากตำแหน่งก่อนครบวาระ
มาตรา 12 ให้นำกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองมาใช้บังคับกับการประชุม
มาตรา 13 ให้คณะกรรมการมีอำนาจหน้าที่ เสนอนโยบาย กำกับดูแล กำหนดมาตรฐาน
มาตรา 14 ให้มีสำนักงานคณะกรรมการการส่งเสริมการศึกษาเอกชนในสำนักงาน
มาตรา 15 เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมการจัดการศึกษาเอกชน
มาตรา 16 เขตพื้นที่การศึกษาใดมีกลุ่มส่งเสริมสถานศึกษาเอกชนตามมาตรา15
มาตรา 2 พรบ นี้ ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
มาตรา 4 ในพรบ นี้
โรงเรียน คือ สถานศึกษาของเอกชนที่จัดการศึกษา
โรงเรียนในระบบ คือ โรงเรียนที่จีดการศึกษาโดยการกำหนดจุดมุ่งหมาย
โรงเรียนนอกระบบ หมายความว่า โรงเรียนที่จัดการศึกษาโดยมีความยืดหยุ่นในการกำหนดจุดมุ่งหมายรูปแบบ
มาตรา 1 พรบ.นี้เรียกว่า "พระราชบัญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ.2550"
มาตรา 3 ให้ยกเลิกพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ส. 2525
มาตรา 5 พระราชบัญญัตินี้ไม่ใช่บังคับแก่ สถานศึกษาที่มีนักเรียนรวมกันไม่เกิน 7 คน สถานศึกษาที่คณะสงฆ์จัดตั้งขึ้น
มาตรา 6 ในกรณี มีเหตุจำเป็นรัฐมนตรีโดยคำแนะนำของคณะกรรมการจะประกาศให้โรงเรียนใดได้รับยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ในเรื่องใดก็ได้
มาตรา 7 ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการรักษาตามพรบนี้
ส่วนที่ 2 ทรัพย์สินและบัญชี
มาตรา 45 ผลกำไรที่ได้จากการดำเนินกิจการของดรงเรียนในระบบในแต่ะละปี ให้คณะกรรมการบริหารจัดสรร
มาตรา 46 ให้ผู้จัดการเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดวางระบบและจัดทำบัญชี
มาตรา 44 ให้โรงเรียนในระบบจัดให้มีกองทุนสำรอง
มาตรา 47 ให้คณะกรรมการบริหารดำเนินการใหม่การตรวจสอบบัญชีของดรงเรียน
ส่วนที่ 6 การคุ้มครองการทำงาน
มาตรา 86 กิจกการขอโรงเรียนในระบบไม่อยู่ภายใต้บังคับกฎหมาย
ส่วนที่ 3 การอุดหนุนและส่งเสริม
มาตรา 48 รัฐพึงให้การอุดหนุนและส่งเสริมดรงเรียนในระบบนอกจากเงินอุดหนุน
ส่วนที่4 กองทุน
มาตรา 49 ให้มีกองทุนส่งเสริมโรงเรียนในระบบขึ้นในกระทรวงศึกษาธิการ
มาตรา 50 เงินกองทุนที่รับโอนตามมาตรา 49 วรรค 2 (1)
มาตรา 51 เงินกองทุนที่ได้รับตามมาตรา 49 วรรค2 (4)
มาตรา 53 การรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการบริหารกองทุน ให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกำหนด
ส่วนที่ 5 การสงเคราะห์
มาตรา 55 กองทุนประกอบด้วยเงินและทรัพย์สิน
มาตรา56 ดอกผลของเงินและทรัพย์สินของกองทุนสงเคราะห์ตามมาตรา 55
มาตรา 54 ให้มีกองทุนสงเคราะห์เป็นนิติบุคคล
มาตรา 58 กิจการของกองทุนสงเคราะห์ไม่อยู่ภายใต้บังคับกฎหมาย
มาตรา 59 ให้กองทุนสงเคราะห์มีอำนาจกระทำกิจการต่างๆ ตามมาตรา 54
มาตรา 60 ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานของกองทุนสงเคราะห์ ให้จ่ายจากดอกผลกองทุนสงเคราะห์ ไม่เกินร้อยละ3
มาตรา 61 ให้มีคณะกรรมการกองทุนสงเคราะห์
มาตรา 62 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิต้องไม่มีลักษณะต้องห้าม
มาตรา 63 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระดำรงตำแหน่งคราวละ 3ปีอาจได้รับการแต่งตั้งได้อีก แต่ไม่เกิน 2 วาระ
มาตรา 64 นอกจากพ้นจากตำแหน่งตามวาระตามมาตรา 63
มาตรา 65 ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตำแหน่งตามวาระ
มาตรา 66 อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการกองทุนสงเคราะห์
มาตรา 67 การประชุมของคณะกรรมการกองทุนสงเคราะห์และคณะอนุกรรมการให้เป็นไปตามระเบียบ
มาตรา 57 ให้กองทุนมีสำนักงานใหญ่ ณ สถานที่ที่รัฐมนตรีประกาศ
มาตรา 68 ให้กรรมการกองทุนสงเคราะห์และอนุกรรมการได้รับประโยชน์ตอบแทนตามระเบียบ
มาตรา 69 ให้มีผู้อำนวยการกองทุนสงเคราะห์คนหนึ่ง ซึ่งคณะกรรมการกองทุนสงเคราะห์แต่งตั้ง
มาตรา 70 การดำรงตำแหน่ง การพ้นจากตำแหน่ง การกำหนดเงื่อนไข ในการทดลอง ปฏิบัติงานและการทำงาน
มาตรา 71 ให้ผู้อำนวยการกองทุนสงเคราะห์เป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานและลูกจ้าง
,มาตรา 72 ในกิจการของกองทุนสงเคราะห์ที่เกี่ยวกับบุคคลภายนอก ให้ผู้อำนวยการเป็นผู้แทน
มาตรา 73 ให้โรงเรียนในระบบ ผู้อำนวยการ ครู บุคลากรทางการศึกษาและกระทรวงศึกษาธิการส่งเงินสะสมหรือเงินสมทบ
มาตรา 74 ให้โรงเรียนในระบบหักและรวบรวมเงินของ ผู้อำนวยการ ครู บุคลากรทางการศึกษา
มาตรา 75 ผู้อำนวยการ ครู และบุคลากรทางการศึกษาซึ่งส่งเงินสะสมตามมาตรา 73 (1)ติดต่อกับครอบ 2 เดือนแล้ว มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการสงเคราะห์
มาตรา 76ผู้อำนวยการ ครู และบุคลากรทางการศึกษา มีสิทธิ์ได้รับเงินทุนเลี้ยงชีพเมื่อออกจากงาน
มาตรา 77ผู้อำนวยการ ครู และบุคลากรทางการศึกษา ซึ่งออกจากงานโดยไม่มีความผิดและมีเวลาทำงานไม่น้อยกว่า 5 ปีแต่ไม่ถึง 10ปี อาจได้รับเงินทุนเลี้ยงชีพ
มาตรา 78 ผู้อำนวยการ ครู และบุคลากรทางการศึกษาตายหรือสาบสูญ เนื่องจากการปฏิบัติหน้าที่หรือทำงานให้แก่โรงเรียนในระบบ
มาตรา 79 เมื่อผู้อำนวยการ ครู หรือบุคลากรทางการศึกษา ประสบอันตรายเนื่องจากปฏิบัติหน้าที่หรือทำงานให้แก่โรงเรียนในระบบ ให้จ่ายเงินสวัสดิการ
มาตรา 80 สิทธิการรับเงินจากกองทุนสงเคราะห์ตามพรบเป็นสิทธิเฉพาะตัวไม่อาขโอนแก่กันได้
มาตรา 81 ให้กองทุนสงเคราะห์จัดทำบัญชีของกองทุนสงเคราะหื ให้เป็นไปตามมาฐานการบัญชี
มาตรา 82 ให้กองทุนสงเคราะห์จัดทำงบการเงินส่งให้ผู้สอบบัญชีตรวจสอบภายใน 10 วัน นับแต่วันสิ้นปีบัญชี
มาตรา 83 ให้คณะกรรมการกองทุนสงเคราะห์แต่งตั้งบุคคลภายนอก
มาตรา 85 ให้ผู้สอบบัญชีจัดทำรายงานการสอบบัญชีที่แสดงความเห็นต่องบการเงิน เสนอคกก.กองทุนสงเคราะห์ เพื่อรับรอง ภายใน 150 วันและสนอต่อรัฐมนตรีภายใน 180 วัน นับแต่วันสื้นปีบัญชี
ส่วนที่ 7 การกำกับดูแล
มาตรา 87 ห้ามผู้รับใบอนุญาต ผู้อำนวยการ ผู้จัดการ ครูและบุคลากรทางการศึกษาใช้หรือยอมให้ผู้อื่นใช้อาคาร สถานที่ และบริเวณโรงเรียน
มาตรา 88 ห้ามโรงเรียนในระบบทำหรือยินยอมให้บุคคลอื่นทำการใดอันอาจเป็นภัยต่อความมั่นคงหรือความปลอดภัย
มาตรา 89 ห้ามโรงเรียนในระบบหยุดสอนติดต่อกัน เกิน 7วัน เว้นแต่มีเหตุจำเป็น
ส่วนที่ 8 จรรยา มารยาท วินัยและหน้าที่
มาตรา 105 ผู้รับใบอนุญาต ผู้อำนวยการ ผู้บริหาร ผู้จัดการ ครูและบุคคลากรทางการศึกษาที่ไม่อยู่ในบังคับของกฎหมายว่าสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
ส่วนที่ 9 การโอนใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนในระบบ
มาตรา 106 ผู้รับใบอนุญาตผู้ใดประสงค์จะโอนใบอนุญาตให้จัดโรงเรียนในระบบให้บุคคลอื่น ให้ยื่นคำขอต่อผู้อนุญาต
มาตรา 107 ในกรณี ที่ผู้รับใบอนุญาตตายหรือเป็นคนสาบสูญ ให้ทายาทคนใดคนหนึ่ง ยื่นคำขอรับโอนต่อผู้อนุญาตภายใน 90 วัน
มาตรา108 ถ้าทายาทไม่ประสงค์จะดำเนินกิจการโรงเรียนต่อในระบบนั้นต่อไป ให้ทายาทยื่นคำขอเลิกกิจการโรงเรียนตามมาตรา 114
ส่วนที่ 10 การเลิกกิจการ
มาตรา 113 โรงเรียนในระบบเลิกกิจการ 1.ได้รับอนุญาตให้เลิกกิจการในระบบ 2. ถูกเพกถอนให้จัดตั้งโรงเรียน
มาตรา 114 ให้ยื่นคำขอเลิกกิจการโรงเรียนในระบบพร้อมด้วยเหตุผลต่อสู้อนุญาตล่วงหน้า ไม่น้อยกว่า 120 วัน ก่อนสิ้นปีการศึกษา
ส่วนที่ 11 การอุทธรณ์
มาตรา 117 ให้แต่ละจังหวัด มีคณะกรรมการวินิจฉัยอุททธรณ์
มาตรา 118 ผู้ใดไม่พอใจในคำสั่งดังกล่าว ให้มีสิทธิยื่นอุทธรณ์เป็นหนังสือต่อคณะกรรมการฯ
หมวดที่ 3 โรงเรียนนอกระบบ
มาตรา 120 การจัดตั้งโรงเรียนนอกระบบต้องได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาต
มาตรา 122 ให้ผู้รับใบอนุญาตจัดให้มีผู้บริหาร 1 คน เป้นผู้ดูแลรับผิดชอบการบริหารโรงเรียนให้เป็นไปตามกฎ ระเบียบ
มาตรา 126 ในกรณีโรงเรียนนอกระบบจะเลิกกิจการ ให้ผู้รับใบอนุญาตแจ้งเป็นหนังสือ ไม่น้อยกว่า 30 วัน ก่อนวันที่ประสงค์จะเลิกกิจการ
หมวดที่ 4 พนักงานเจ้ากน้าที่
มาตรา 128 ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพรบนี้ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ มีอำนาจเข้าไปในดรงเรียนในระหว่างเวลาทำการและมีหนังสือเรียกผู้ซึ่งเกี่ยวข้อง
มาตรา 129 ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพรบนี้ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ กรรมการวินิจฉัย ตามมตรา 117 ให้เป็นไปตามประมวลกฎหมายอาญา
หมวดที่ 5 บทลงโทษ
มาตรา 130 จัดตั้งโรงเรียนโดยไม่ได้รับอนุญาต ต้องระวางโทษจำคุก ไม่เกิน 1ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา 131 ผู้ใดไม่ปฏิบัติตาม มาตรา 19 วรรค 3 มาตรา 26 วรรค1 หรือมาตรา 18 ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 10,000บาท
มาตรา132 โรงเรียนในระบบใดจัดการเรียนการสอนผิดไปจากรายละเอียด ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน10,000 บาท
มาตรา 133 โรงเรียนในระบบใดไม่ปฏิบัติตาม ต้องระวางโทษไม่เกิน 20,000 บาท
มาตรา 134 ผู้รับใบอนุญาต ไม่แต่งตั้งผู้อำนวยการ ต้องระวางโทษปรับไม่กิน 20,000 บาท
มาตรา 137 ปลอมแปลง เอกสาร ต้องระวางโทษจำคุก ตั้งแต่ 6เดือน ถึง 5 ปี หรือปรับตั้งแต่ 10,000-100,000บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา 1 พรบนี้ เรียกว่า พรบ. โรงเรียนเอกชน (ฉบับบที่ 2) พ.ศ. 2554
มาตรา 6 ให้ยกเลิกความใน (1) ของมาตรา 25
มาตรา 7 ให้ยกเลิกความในมาตรตรา 27
มาตตรา 8 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป้นมาตรา 27/1
มาตรา 5 ให้ยกเลิกความในวรรคหนึ่งของมาตรา 14
มาตรา 9 ให้ยกเลิกในมาตรา 28
มาตรา 4 ให้ยกเลิกความในบทนิยามคำว่า บุคลากรทางการศึกษาและผู้อนุญาต ในมาตรา 4
มาตรา 10 ให้ยกเลิก ความในมาตรา30
มาตรา 3 ให้ยกเลิกความในบทนิยาม คำว่า โรงเรียนนอกระบบ ในมาตรา 4
มาตรา 2 พรบ นี้ให้ใชับัคับตั้งแต่วันถัดจากวันวันประกาศในราชกิจจานุกเบกษา
มาตรา 11 ให้ยกเลิกวรรค 2 ของมาตรา 32 แห่ง
มาตรา 12 ให้ยกเลิก มาตรา 44 และ45
มาตรา 13 ให้ยกเลิกความในวรรค 1 ของมาตรา 46
มาตรา 14 ให้ยกเลิกในมาตรา 47