Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ไตวายเฉียบพลัน (Acute kidney injury) :warning: (ปัจจัยเสี่ยง (โรคอ้วน,…
ไตวายเฉียบพลัน (Acute kidney injury) :warning:
ความหมาย
ภาวะที่มีการสูญเสียการทำงานของไตอย่างเฉียบพลัน ทำให้การทำหน้าที่ของไตเสียหน้าที่ มีการคั่งของน้ำ อิเล็กโทรไลต์ และของเสีย
ปัจจัยเสี่ยง
โรคอ้วน
ได้รับยาเคมีบำบัด
การขับของเสีย creatinine ลดลง เช่น โรคตับ ติดเชื้อในกระแสเลือด มีการสลายกล้ามเนื้อ
การช่วยฟื้นคืนชีพเป็นรถยะเวลานาน
ยาที่มีผลต่อ tubular secretion เช่น cimetidine , trimethoprim
ปัสสาวะออกน้อยจาก Hormone antidiuretic เหลือมากเกินไป
สาเหตุ
Intrinsic acute failure เกิดจากโรคที่มีพยาธิสภาพที่ไต
โรคที่เกิดจากเส้นเลือดใหญ่
เส้นเลือดแดงที่ไปเลี้ยงไตอุดตัน
เส้นเลือดดำอุดตัน
โรคที่เกิดจากเส้นเลือดขนาดเล็ก
membranoproliferative glomerulonephritis
Systemic lupus erythematosus
โรคที่เกิดจาก Tubular
Acte Tubular necrosis
จากการที่มีเลือดไปเลี้ยงไตลดลง
เกิดจากสารเคมีหรือยาบางประเภทที่มีผลโดยตรงต่อไต
postrenal acute kidney injury ไตวายเฉียบพลันที่เกิดจากการอุดกั้นของทางเดินปัสสาวะส่วนล่างของไต ตั้งแต่ปลายท่อปัสสาวะ กระเพาะปัสสาวะ และท่อไตทั้ง 2 ข้าง
นิ่ว เนื้องอก ก้อนเลือด ต่อมลูกหมากโต
prerenal cause หรือ prerenal acute kidney injury
หลอดเลือดขยายตัว
ภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด
แพ้ยาหรือสารเคมีอย่างรุนแรง (Anaphylaxis)
ตับวาย
ได้รับยาสลบ
ยาลดความดันโลหิตสูง
cardiac output ลดลง
กล้ามเนื้อหัวใจตาย
หัวใจเต้นผิดจังหวะ
หัวใจวาย
มีลิ่มในหลอดเลือด
pulmonary hypertension
ใช้เครื่องช่วยหายใจแบบแรงดันบวก ทำให้เลือดออกในช่องเยื่อหุ้มหัวใจ
สูญเสียน้ำและเลือด
ทางไต
ได้รับยาขับปัสสาวะ
โรคต่อมไร้ท่อ
ภาวะเบาจืด
โรคของต่อมหมวกไต
ทางเดินอาหาร
อาเจียน
Nasogastric suction
จากการบาดเจ็บ ผ่าตัด ระยะหลังคลอด
การใช้ยาต่างๆ
ยาที่ทำให้หลอดเลือดในไตหดตัว
Ergotamine
hypercalcemia
Norepinephrine
Dopamine ในขนาดมากๆ
ยายับยั้งการสังเคราะห์ prostaglandin โดยใช้ NSAID ในระยะที่มีเลือดไปเลี้ยงไตลดลง
การใช้ยา Angiotensive Converting Enzyme inhibitor เพื่อขายหลอดเลือดไตใน renal artery stenosis
พยาธิสภาพ
มีความผิดปกติของการไหลเวียนเลือด
ไตขาดเลือดไปเลี้ยง
หลอดเลือดไตหดตัว
อัตราการกรองลดลง
มีการคั่งของสารไนโตรเจน
ไตวายเฉียบพลัน
เซลล์ tubule ถูกทำลาย
เซลล์ลอกหลุดและมีการอุดตันของTubule
ท่อไตอุดตัน สารน้ำไหลกลับเข้าTubule (back leakage)
อัตราการกรองลดลง
มีการคั่งของสารไนโตรเจน
ไตขาดเลือดหรือไตได้รับสารพิษ
ผนังของTubuleถูกทำลาย
Tubule บวม
เกิดการตายของเซลล์
มีการหลุดลอกของเซลล์
อัตราการกรองลดลง
ปัสสาวะออกน้อย
มีการคั่งของสารไนโตรเจน
1 more item...
ผนัง Tubule มีความอ่อนแอ
น้ำซึมกลับเข้าใน interstitium
ปัสสาวะออกน้อย
มีการคั่งของไนโตรเจน
อาการและอาการแสดง
เกณฑ์ RIFLE Classitication
I:Injury
GFR ลดลง > 50 %
Cr. > 2-3 เท่าของค่าปกติ
การขับถ่ายปัสสาวะ
< 0.5 มล/กก./ชม. ในระยะเวลา 12 ชั่วโมง
R:Risk
อัตราการกรองไต
Cr 1.5-2 เท่าของปกติ
GFR ลดลง >25 %
การขับถ่ายปัสสาวะ
ปัสสาวะลดลง < 0.5 มล/กก./ชม. ในระยะเวลา 6 ชั่วโมง
F:Failure
GFR ลดลง > 75 %
การขับถ่ายปัสสาวะ
< 0.3 มล/กก./ชม หรือออกน้อยในระยะเวลา 24 ชั่วโมง หรือไม่ออกใน 12 ชั่วโมง
Cr. > 4 mg./dl
L : Loss of function
ไตวาย ไตสูญเสียหน้าที่อย่างสมบูรณ์ > 4 สัปดาห์ ต้องทำ dialysis
E:End stage kidney disease (ESKD)
ไตวาย ไตสูญเสียหน้าที่อย่างสมบูรณ์ > 3 เดือน ต้องทำ dialysis
แบ่งตามระยะ
Diuretic phase
ปัสสาวะออกมาก 4-5 L./day
BUN , Cr.ลดลง
recovery phase
อัตราการกรองใกล้เคียงปกติ
Oliguric phase
ปัสสาวะออก 400 ml./day
ระยะที่มีปัสสาวะออกน้อย
การวินิจฉัย
การซักประวัติ การสูญเสียน้ำ เลือดจากร่างกาย การติดเชื้อในร่างกาย การอุดกั้นทางเดินปัสสาวะ ประวัติการใช้ยา
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจ plasma BUN และ creatinine ratio
การตรวจปัสสาวะ
การตรวจทางรังสี
ระดับเอนไซม์ในกระแสเลือด
การรักษา
จำกัดปริมาณน้ำดื่ม และเกลือที่ได้รับ
ดูแลเรื่องอาหารลดอาหารที่มีโพแทสเซียมสูง
ดูแลเรื่องอาหารควรลดโปรตีน เพราะอาจทำให้มีของเสียในเลือดเพิ่มขึ้น
การทำ Dialysis
peritoneal dialysis
Acute intermittent hemodialysis
ภาวะแทรกซ้อน
Hypovolemia & hypotension จากการดึงน้ำออกมาก และเร็วทำให้ Volume ลดลง และhypotension อาจเกิดจากการใช้ยาลดความดันโลหิต จึงควรงดยาลดความดันโลหิต 4-6 ชั่วโมงก่อนทำ
กล้ามเนื้อเกร็งเป็นตะคริวจากการดึงน้ำออกมาก ทำให้ Volume ลดลง และส่งผลให้ tissue perfusion ลดลง
Dialysis disequilibrium syndrome (DDS) กลุ่มอาการทางระบบประสาท มีอาการบวมของสมอง มีน้ำเคลื่อนไปในสมอง เนื่องจากมี serum osmolality
Arrhthmia & angina เมื่อดึงน้ำออกจะสูญเสีย electrolyte ส่งผลให้หัวใจเต้นผิดจังหวะ
slow continuous hemofiltration
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล :<3:
ภาวะไม่สมดุลของสารน้ำและอิเล็กโทรไลต์
บันทึกน้ำเข้า-ออกจากร่างกาย
จำกัดน้ำดื่ม หรือให้สารน้ำเท่ากับจำนวนปัสสาวะออกมา
ตรวจและบันทึกสัญญาณชีพ
ติดตามผลการตรวจปัสสาวะ
ติดตามผล BUN creatinine โพแทสเซียม โซเดียม
วัด CVP ทุก 1 ชั่วโมง เพื่อประเมินน้ำในระบบไหลเวียนและความสามารถในการบีบตัวของหัวใจ
ติดตามและประเมินผล ABG เพื่อประเมินภาวะพร่องออกซิเจนและภาวะเป็นกรด-ด่างจากการหายใจ
สังเกตอาการบวมตามปลายมือปลายเท้า
ในรายที่โพแทสเซียมสูงควรงเอาหารที่มีโพแทสเซียมสูง
ให้ NaHCO3 เพื่อทำให้โพแทสเซียมออกนอกเซลล์ฺน้อยลง และแก้ไขภาวะเป็นกรดของร่างกาย
เสี่ยงต่อการติดเชื้อเนื่องจากมีภาวะภูมิต้านทานลดลงเนื่องจากมีภาวะ uremia
ให้ยา ATB ตามแผนการรักษา
ดูแลรักษาความสะอาด โดยยึดหลักปราศจากเชื้อ
วัดอุณหภูมิร่างกาย ทุก 4 ชั่วโมง
กรณีคาสายสวนปัสสาวะ ดูแลทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์อย่างน้อยวันละ 3 ครั้ง
ตรวจสอบบริเวณที่ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำว่ามีการอักเสบ บวมแดง
มีภาวะซีด เนื่องจากไตสร้างฮอร์โมน erythropoietin ได้น้อยลง
ดูแลให้ได้รับเลือดตามแผนการรักษา
ติดตามค่า Hct หลังได้รับเลือด
ดูแลให้นอนพักบนเตียง เพื่อลดการใช้ออกซิเจน
ดูแลให้ได้รับยาเสริมธาตุเหล็กตามแผนการรักษา
ประเมินสัญญาณชีพ ประเมินลักษณะการหายใจ เนื่องจากออกซิเจนลดลงจากภาวะซีด