Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติด้านจิตใจในระยะหลังคลอด (ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด (postpartum…
ความผิดปกติด้านจิตใจในระยะหลังคลอด
ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด (postpartum depression)
ความหมาย
ความผิดปกติด้านอารมณ์ ความคิด และการรับรู้ ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกายและพฤติกรรม
สาเหตุ
ความตึงเครียดทางจิตใจ (psychological stress)
2.4 มีความวิตกกังวลต่อเพศ
2.5 วิตกกังวลต่อการเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์ของตนเอง
2.3 ไม่ได้รับความเห็นอกเห็นใจ
2.6 สับสนกับการเปลี่ยนแปลงบทบาทการเป็นมารดา
2.2 ปัญหาในชีวิตสมรส
2.7 ความล้มเหลวในการปรับตัวต่อบทบาทการเป็นมารดา
2.1 การตั้งครรภ์ที่ไม่พึงปรารถนา
2.8 มีความผิดปกติทางจิตใจในระยะตั้งครรภ์ หรือเคยมีประวัติซึมเศร้าในครรภ์ก่อน
ความตึงเครียดทางสังคม (social stress)
3.2 เศรษฐานะ ความยากจน
3.3 ไม่ได้รับการเตรียมตัวก่อนคลอด
3.1 มารดาวัยรุ่นที่ต้องพึ่งพาบิดามารดา
3.4 มารดาหลังคลอดที่ได้รับการดูแลอย่างเคร่งครัดจากครอบครัว
ความตึงเครียดทางร่างกาย (biological stress)
1.2 การเปลี่ยนแปลงของต่อมไร้ท่อและระดับของฮอร์โมน
1.3 ประสบการณ์ของการคลอดไม่ดี
1.1 การเปลี่ยนแปลงทางของร่างกายในระยะคลอด
อาการและอาการแสดง
เบื่ออาหาร หรือ กินจุ
นอนไม่หลับ หรือ นอนมากกว่าปกติ
ความสนใจหรือความเพลิดเพลินใจในสิ่งต่างๆลดลง
อ่อนเพลีย ไม่มีแรง
ซึมเศร้าโดยมีอาการเกือบทั้งวัน
รู้สึกตนเองไร้ค่า หรือรู้สึกผิด
ผลกระทบ
ผลกระทบต่อครอบครัว
เกิดปัญหาภายในครอบครัว
สมรรถภาพทางเพศลดลง
สูญเสียความสนใจในชีวิตสมรส
ผลกระทบต่อบุตร
ปฏิเสธและไม่สนใจบุตร
มีการทุบตีทารุณเด็ก ละทิ้งเด็ก
ไม่สามารถแสดงบทบาทการเป็นมารดาได้
ผลกระทบต่อมารดาหลังคลอด
เหนื่อยล้า เซื่องซึม
ไม่สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจาวันได้
สูญเสียสมรรถภาพทางร่างกาย
มีพฤติกรรมทาร้ายตนเอง
การวินิจฉัย
มีอาการตามเกณฑ์การวินิจฉัยต่อไปนี้ 5 ข้อ
(4) นอนไม่หลับ หรือนอนมากกว่าปกติ
(5) Psychomotor agitation หรือ retardation
(3) เบื่ออาหาร น้าหนักลดลง หรือกินจุ น้าหนักเพิ่มขึ้น
(6) อ่อนเพลีย ไม่มีแรง
(2) ความสนใจหรือความเพลิดเพลินใจในสิ่งต่างๆ ลดลงอย่างมาก
(7) รู้สึกตนเองไร้ค่า หรือรู้สึกผิดอย่างไม่สมเหตุสมผล
(1) ซึมเศร้าโดยมีอาการเกือบทั้งวัน
(8) สมาธิลดลง ลังเลใจ
(9) คิดเรื่องการตาย หรือการฆ่าตัวตาย
ภาวะโรคจิตหลังคลอด (postpartum psychosis)
ความหมาย
มารดาหลังคลอดเกิดความวิกลจริตร่วมกับความผิดปกติด้านอารมณ์ ซึ่งมารดาจะมีอาการของโรคไบโพลาร์และมีอาการโรคจิตเภท
สาเหตุ
มีประวัติไบโพลาร์ (bipolar)
มีลักษณะบุคลิกภาพแปรปรวน
เคยมีประวัติเป็นโรคจิตหลังคลอด
อาการแสดงของโรคจิตหลังคลอด
อาการนำ
มีอาการไม่สุขสบาย
นอนไม่หลับ ฝันร้าย
บุคลิกภาพเปลี่ยนแปลง
ขาดความสนใจต่อสิ่งแวดล้อม
หงุดหงิดง่าย อารมณ์ไม่แน่นอน
อาการโรคจิต
มีอาการโรคจิตหรือวิกลจริตร่วมกับความผิดปกติของอารมณ์
โรคไบโพลาร์ (bipolar disorder)
โรคอารมณ์แปรปรวนสองแบบ (manic depressive illness)
อาจมีอาการทั้ง 2 แบบผสมกันในเวลาเดียวกัน
อาการแบบจิตเภท
หลงผิด (delusion)
ประสาทหลอน (hallucination)
การรับรู้ผิดปกติ หลุดจากโรคของความเป็นจริง
อาการแบบแมเนีย
มีอารมณ์หงุดหงิด
โกรธง่าย พูดมาก พูดเร็ว
มีอารมณ์สนุกสนานร่าเริงผิดปกติ
อาการแบบซึมเศร้า
ท้อแท้
เบื่อหน่ายทุกสิ่งทุกอย่าง
มีอารมณ์เศร้าอย่างมาก
ผลกระทบ
รู้สึกว่าตนมีความผิดที่มีอารมณ์เศร้าในช่วงเวลาซึ่งควรมีความสุข
รู้สึกห่างเหินต่อบุตร
ขาดความสนใจทางเพศ
อาจฆ่าบุตรได้ (infanticide)
สูญเสียสมรรถภาพทางร่างกาย
มีอาการโรคจิตหลังคลอด
การประเมินและการวินิจฉัย
การซักประวัติ
บุคลิกภาพเปลี่ยนแปลง
ขาดความสนใจต่อสิ่งแวดล้อม
นอนไม่หลับ
หงุดหงิดง่าย อารมณ์ไม่แน่นอน
ร้องไห้ไม่มีสาเหตุ
หลงผิด ประสาทหลอน
การตรวจร่างกาย
ขาดความสนใจต่อสิ่งแวดล้อมรอบตัว
อารมณ์ไม่แน่นอน
ร้องไห้ไม่มีสาเหตุ
กระวนกระวายใจ
การแสดงบทบาทการเป็นมารดาไม่เหมาะสม
หลงผิด หรือมีประสาทหลอน
การรักษาภาวะซึมเศร้าหลังคลอดและโรคจิตหลังคลอด
การรักษาทางกาย
1.1 ในรายที่มีอาการซึมเศร้าหลังคลอด กลุ่มยาที่เลือกใช้เป็นอันดับแรก คือ serotonin reuptake inhibitor
1.2 การให้ยาต้านโรคจิต (antipsychotic drug) ในกลุ่ม atypical antipsychotic
1.3 การให้ยาควบคุมอารมณ์ (mood stabilizer)
1.4 การช็อคไฟฟ้า (ECT)
การรักษาทางจิตโดยใช้จิตบาบัด (psychotherapy)
2.1 จิตบาบัดรายบุคคล (individual therapy)
2.2 จิตบาบัดครอบครัว (family therapy)
การรักษาโดยการแก้ไขสิ่งแวดล้อม (environment therapy)
นาย ทักษ์ดนัย เรืองสมบัติ ปี 3 ห้อง A เลขที่ 23