Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้ภาษาไทยในการ สร้างข้อสอบ (😊ลักษณะของแบบทดสอบที่ดี😊…
การใช้ภาษาไทยในการ
สร้างข้อสอบ
😚การเขียนข้อสอบให้มีคุณภาพดี😚
มีความสามารถในการใช้ภาษา
รู้วิธีการถามในลักษณะแปลกใหม่
มีความรู้เกี่ยวกับหลักการเขียนข้อสอบ
มีทักษะในการวิจารณ์ข้อสอบ
เข้าใจจุดมุ่งหมายของรายวิชา และมีความรู้
😊ลักษณะของแบบทดสอบที่ดี😊
ความตรงหรือความเที่ยงตรง
ตรงตามโครงสร้าง
ตรงตามพยากรณ์
ตรงตามเนื้อหา
ตรงตามสภาพ
ความเที่ยงหรือความเชื่อมั่น
ความเป็นปรนัย
ให้คะแนนได้ตรงกัน
แปลความหมายของคะแนนได้ตรงกัน
อ่านแล้วสามารถเข้าใจได้ตรงกัน
สามารถแสดงความแตกต่างของสิ่งที่ต้องการวัดได้
มีความยุติธรรม
ค่าความยากง่ายพอเหมาะ
มีความจำเพาะเจาะจง
ถามลึก
มีประสิทธิภาพ
มีลักษณะยั่วยุและเป็นตัวอย่างที่ดี
🤓หลักทั่วไปในการเขียนข้อสอบ🤓
ถามให้ครอบคลุม
ถามทุกพฤติกรรมการเรียนรู้
ถามเนื้อหาได้สัดส่วนเหมาะสม
ถามได้ครบทุกเรื่องตามหลักสูตร
ถามเฉพาะสิ่งที่สำคัญ
ถามให้ลึก
ไม่ถามตามที่ครูเคยสอน
ถามให้ครบทุกระดับพฤติกรรม
ถามให้ผู้เรียนได้คิด
ถามในสิ่งที่เป็นแบบอย่างที่ดี
ถามให้จำเพาะเจาะจง
😍การใช้ภาษาในการเขียนข้อสอบ😍
ใช้คำหรือประโยคที่เฉพาะเจาะจง ชัดเจน
ต้องใช้ตัวเลือกและตัวลวงที่เป็นเอกพันธ์
เขียนในรูปประโยคคำถามที่สมบูรณ์ กะทัดรัด
อย่าให้ตัวถูก/ผิด ต่างกันอย่างชัดเจน
ใช้ภาษาระดับทางการ
ตัวเลือกแต่ละข้อต้องเป็นอิสระจากกัน
😎
การสร้างข้อสอบแบบอัตนัย
😎
ลักษณะคำถาม
การนำไปใช้
ถามให้หาความสัมพันธ์
ถามให้ยกตัวอย่างจากเรื่องที่เรียนไปแล้ว
ถามให้ประยุกต์หลักการและทฤษฎีในสถานการณ์ใหม่
ถามให้คาดคะเนผลที่จะเกิด
ความเข้าใจ
ถามให้เปรียบเทียบ
ถามให้บรรยาย
ถามให้สรุปความ
ความรู้-ความจำ
การวิเคราะห์
ถามให้หาหลักการ
ถามให้บอกเหตุผล
การสังเคราะห์
ถามให้จัดรวบรวมข้อเท็จจริงใหม่
ถามให้แสดงความคิดสร้างสรรค์
ถามเกี่ยวกับแผนงานหรือโครงการ
การประเมินค่า
ถามให้ตัดสินใจ
ถามให้อภิปราย หรือแสดงความคิด
หลักการสร้างข้อสอบ
‼️
เขียนคำถามโดยใช้สถานการณ์ใหม่ๆที่น่าสนใจ เป็นปัจจุบัน
ไม่ถามตามตำรา
เขียนคำถามวัดพฤติกรรมระดับสูงๆ
ถามเฉพาะสิ่งที่เป็นประเด็นสำคัญ
เขียนคำถามให้ชัดเจน
กำหนดความซับซ้อนและความยากให้เหมาะสมกับวัย
กำหนดให้ชัดเจนว่าต้องการวัดพฤติกรรมด้านใด
คิดเฉลยไปพร้อมกับตั้งคำถาม
เป็นข้อสอบที่เปิดโอกาสให้ผู้ตอบแสดงความรู้หรือความคิดเห็นส่วนตัวได้
📢
ข้อดี
วัดความคิดริเริ่ม และความคิดเห็นได้ดี
สร้างได้ง่าย รวดเร็ว ประหยัด
วัดพฤติกรรมด้านความคิด
เดายาก
ส่งเสริมพัฒนาทักษะการเขียน และนิสัยการเรียน
👩การสร้างข้อสอบแบบปรนัย👩
ข้อสอบแบบเลือกตอบ
แบบตัวเลือกคงที่
ชนิดให้หาคำตอบถูก
ชนิดให้เรียงลำดับ
ชนิดคำตอบรวม
คำตอบที่ดีที่สุด
คำตอบถูกต้องแน่นอน
ข้อสอบแบบจับคู่
📢ข้อดี
สามารถวัดพฤติกรรมระดับความเข้าใจ /การนำไปใช้ได้
ประหยัดเวลาในการอ่านข้อสอบ
เหมาะสำหรับความรู้-ความจำ ที่มีเนื้อหา สัมพันธ์เกี่ยวข้องกัน
หลักการเขียนข้อสอบ‼️
เนื้อหาวิชาที่จะนำมาออกข้อสอบต้องถามในเรื่องเดียวกัน
ควรให้คำตอบมีมากกว่าคำถาม
จำนวนข้อคำถามไม่ควรมากเกินไป
ควรให้คำชี้แจง คำถาม คำตอบ อยู่หน้าเดียวกัน
หลีกเลี่ยงคำถามที่แนะคำตอบ
เขียนคำชี้แจงให้ชัดเจน
ข้อสอบแบบถูกผิด
📢ข้อดี
สร้างง่าย ตรวจง่าย
ใช้ทดสอบได้กับทุกวิชา
เหมาะกับการวัดพฤติกรรมความรู้/ความจำ
ผู้ตอบใช้เวลาทำน้อย
หลักการสร้างข้อสอบ‼️
ไม่สร้างข้อคำถามในเชิงปฏิเสธ หรือปฏิเสธซ้อน
หลีกเลี่ยงการลอกข้อความจากหนังสือ
หลีกเลี่ยงการใช้คำที่เป็นเครื่องชี้แนะคำตอบ
คำถามทุกข้อควรมีความยาวใกล้เคียงกัน
อย่าวางข้อถูกและข้อผิดเป็นระบบ
มีข้อถูกและข้อผิดพอๆกัน
แต่ละข้อถามจุดสำคัญเพียงเรื่องเดียว
ต้องตัดสินได้ว่าถูกหรือผิดจริง และเป็นสากล
มีความหมายชัดเจนไม่กำกวม ไม่ใช้คำที่แสดงคุณภาพ
ข้อสอบแบบเติมคำ
📢ข้อดี
เหมาะกับพฤติกรรมความรู้-ความจำ
เหมาะกับวิชาที่ใช้ทักษะการคำนวณ
เดาคำตอบได้ยาก
หลักการสร้างข้อสอบ‼️
ไม่ควรลอกข้อความจากตำรา
ไม่ควรเว้นช่องว่างให้เติมหลายแห่งในแต่ละข้อ
คำตอบที่เป็นตัวเลข ถ้ามีหน่วยควรระบุหน่วย
ไม่ควรมีคำ หรือข้อความที่แนะคำตอบ
เว้นช่องว่างที่จะเติมเท่ากันทุกช่อง
เว้นช่องว่างให้เติมท้ายประโยค และให้เพียงพอ
ให้เติมส่วนที่เป็นสาระสำคัญ
เขียนให้ตอบสั้นที่สุด
เขียนให้ตอบเพียงคำตอบเดียว
หลีกเลี่ยงการใช้คำที่จะให้คำตอบที่ไม่แน่นอน
นางสาวมณณฎา ปานเพชร รหัสนิสิต ๖๑๒๐๖๐๓๑๙๑