Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การติดเชื้อหลังคลอด (puerperal infection) (ปัจจัยเสี่ยง (ภาวะทุพโภชนาการ,…
การติดเชื้อหลังคลอด (puerperal infection)
ความหมาย
การมีไข้หลังคลอด (puerperal fever)
อุณหภูมิร่างกาย ตั้งแต่ 38 องศาเซลเซียสขึ้นไปติดต่อกันอย่างน้อย 4 ครั้งต่อวัน ช่วง 2 ใน 10 วันแรกหลังคลอด ซึ่งไม่นับ 24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
การติดเชื้อในระบบสืบพันธุ์หลังคลอด (puerperal sepsis)
มีไข้ BT= ≥ 38 C เกิน 24 ชั่วโมง หรือ เกิดซ้าตั้งแต่วันที่ 2 10 หลังคลอดหรือหลังการแท้ง
ติดเชื้อในระบบสืบพันธุ์ตั้งแต่เจ็บครรภ์หรือถุงน้าคร่าแตก จนถึง 42 วันหลังคลอด มีไข้ BT= ≥ 38.5 C ร่วมกับการตรวจพบอาการดังต่อไปนี้
ปวดอุ้งเชิงกราน
ตกขาวผิดปกติทางช่องคลอด
เป็นหนอง
ตกขาว
มีกลิ่นผิดปกติ
มดลูกลดขนาดลงช้าหลังคลอด
การติดเชื้อหลังคลอด (puerperal infection)
การติดเชื้อในระบบสืบพันธุ์ร่วมกับ การติดเชื้อในระบบอื่นๆ
ระบบทางเดินปัสสาวะ
เต้านม
ระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินอาหาร
มาลาเรีย
ไทฟอยด์
สาเหตุ
การติดเชื้อจากโรงพยาบาล (nosocomial infection)
การติดเชื้อจากภายนอก (exogenous infection)
การติดเชื้อจากตัวผู้ป่วยเอง (endogenous infection)
ปัจจัยเสี่ยง
ภาวะทุพโภชนาการ
การตรวจภายในบ่อยในระยะรอคลอด
การประเมินอัตราการเต้นของหัวใจทารก
ระยะเจ็บครรภ์และการคลอดยาวนาน
การทำคลอดโดยใช้สูติศาสตร์หัตถการ หรือการคลอดยาก
เทคนิคการทำคลอดไม่ถูกต้อง
ทาหัตถการล้วงรก หรือมีการตรวจภายใน
เศษรกค้างในโพรงมดลูก
การดูแลแผลฝีเย็บที่ไม่ถูกต้อง หรือขาดการดูแลความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
การติดเชื้อลุกลามออกไปนอกมดลูก
2.1 การแพร่กระจายไปตามหลอดเลือดดำ
อาการและอาการแสดง
ไข้สูงมากเป็นระยะ
ไม่ตอบสนองต่อยาปฏิชีวนะ
อาจมีอาการหนาวสั่นโดยไม่มีไข้
ปวดกล้ามเนื้อน่องเมื่อกระดกปลายเท้า
ปวดท้องน้อยข้างใดข้างหนึ่ง หรือทั้งสองข้าง
การรักษา
femoral thrombophlebitis
ดูแลให้ยาปฏิชีวนะ
ยาระงับปวด
บางรายอาจให้ heparin
ให้นอนยกขาสูง
ห้ามเดินจนกว่าอุณหภูมิจะลดลงมาแล้ว 1 สัปดาห์
septic pelvic thrombophlebitis
แพทย์มักรักษาด้วย heparin ถ้าตอบสนองได้ดีภายใน 48 - 72 ชั่วโมง จะเป็นการยืนยันการวินิจฉัย
ควรให้ยาปฏิชีวนะร่วมด้วย ดูแลให้ครบ 10 วัน หากไม่ตอบสนองต่อการรักษาอาจต้องได้รับการผ่าตัดทางหน้าท้อง
2.2 การแพร่กระจายไปตามระบบน้ำเหลือง
เนื้อเยื่ออุ้งเชิงกรานอักเสบ (pelvic cellulitis, parametritis)
อาการและอาการแสดง
คลื่นไส้ อาเจียน
ปวดศีรษะ
เบื่ออาหาร
มดลูกกดเจ็บ
ปวดท้องน้อย
อาจคลำพบก้อนบริเวณ broad ligament หรือ ก้อนข้างตัว
มีไข้สูงลอย
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะ
หากเป็นก้อนฝีหนองต้องผ่าระบายออก
เยื่อบุช่องท้องอักเสบ (peritonitis)
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะ ชนิด broad spectrum
ในรายที่มีท้องอืดมาก ดูแลทา nasogastric suction
รายที่รุนแรงต้องได้รับการผ่าตัด
อาการและอาการแสดง
ปวดท้องรุนแรง ท้องโป่งตึง กดเจ็บ มี rebound tenderness
สียงการทางานของลาไส้ลดลง
ชีพจรเร็ว
กระสับกระส่าย
ไข้สูง หนาวสั่น
เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
ภาวะแทรกซ้อนของการติดเชื้อหลังคลอด
เป็นหมัน
โรคไตเรื้อรัง
ตกเลือดหลังคลอด
หลอดเลือดปอดอุดตัน
มดลูกเข้าอู่ช้า
ช็อกจากการติดเชื้อ
การติดเชื้อจากมารดาสู่ทารก
การจับตัวของลิ่มเลือด
การประเมินและการวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
ซีด
ไข้สูง BT 38 C ขึ้นไป ติดต่อกัน 2-10 วันแรกหลังคลอด
อ่อนเพลียมากกว่าปกติ
ชีพจรเร็ว หายใจเร็ว
กดเจ็บบริเวณท้องน้อย
มดลูกเข้าอู่ช้า
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
ส่งตรวจ CBC, gram stain, เพาะเชื้อจากปากมดลูกและน้ำคาวปลา
การซักประวัติ
ค้นหาปัจจัยเสี่ยงของการติดเชื้อในระยะหลังคลอด
ภาวะสุขภาพ
ภาวะโภชนาการก่อนตั้งครรภ์
การรักษา
การรักษาอาการทั่วไป
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดา
รักษาภาวะช็อก
จัดท่านอน fowler position
การรักษาและการเลือกใช้ยาปฏิชีวนะ
กรณีที่อาการไม่รุนแรง มีอาการอักเสบหรือปวดเฉพาะที่กษาโดยให้ยาปฏิชีวนะแบบรับประทานได้ และรักษาแบบผู้ป่วยนอก
กรณีที่มีอาการรุนแรง ปวดมากบริเวณ parametrium หรือมีก้อนในอุ้งเชิงกราน รับไว้รักษาในโรงพยาบาลและรักษาโดยให้ ยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดา
กรณีที่มีการติดเชื้อในอุ้งเชิงกราน ควรใช้ยาปฏิชีวนะที่ครอบคลุมเชื้อได้กว้าง
การติดเชื้อเฉพาะที่
1.1 การติดเชื้อที่แผลฝีเย็บ (perineal infection) การติดเชื้อที่ปากช่องคลอด (vulvitis) การติดเชื้อที่ช่องคลอด(vaginitis) และการติดเชื้อที่ปากมดลูก (cervicitis)
อาการและอาการแสดง
อาจมีอาการปัสสาวะลาบาก (dysuria)
ไข้ต่ำกว่า 38.5 องศาเซลเซียส
มีหนองคั่งอยู่ในแผลฝีเย็บหรือช่องคลอด อาจจะมีอาการไข้สูง หนาวสั่น
การรักษา
ถอดไหมออก
ปิดแผลให้หนองระบาย
ดูแล hot sitz bath และอบแผล
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะ
ดูแลให้ได้รับยาระงับปวดตามแผนการรักษา
1.2 การติดเชื้อของเยื่อบุโพรงมดลูก (endometritis) หรือการติดเชื้อของมดลูก (metritis)
อาการและอาการแสดง
มักขึ้นกับความรุนแรงของการติดเชื้อ อาการจะเริ่มต้นใน 48 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
ชีพจรเร็ว
หนาวสั่น
ไข้สูงแบบฟันเลื่อย ระหว่าง 38.5 40 องศาเซลเซียส
ปวดท้องน้อยปวดมากบริเวณมดลูกและปีกมดลูก
น้าคาวปลาจะมีกลิ่นเหม็นหรือมีหนองปน
ตรวจภายในพบมดลูกกดเจ็บและอักเสบ
มดลูกเข้าอู่ช้า
การรักษา
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะ ชนิด broad spectrum เช่น ampicillin
การรักษาตามอาการ
ให้ยาระงับปวด
นาย ทักษ์ดนัย เรืองสมบัติ ปี 3 ห้อง A เลขที่ 23