Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ ๑๐ - ๑๑ “พระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐” และ ๒๕๕๔…
บทที่ ๑๐ - ๑๑
“พระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐” และ ๒๕๕๔
หมวด ๒
โรงเรียนในระบบ
ส่วนที่ ๔
กองทุน
มาตรา ๕๒ ในกรณีมีความจำเป็นเพื่อประโยชน์ในการจัดการศึกษาโรงเรียนในระบบมีสิทธิขอกู้ยืมเงินจากกองทุนได้ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการกำหนด
มาตรา ๕๐ เงินของกองทุนที่รับโอนมาตามมาตรา ๔๙ วรรคสอง (๑) ให้แยกบัญชีไว้เป็นการเฉพาะเพื่อประโยชน์ในการสงเคราะห์สำหรับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามภาคใต้
มาตรา ๔๙ ให้มีกองทุนส่งเสริมโรงเรียนในระบบขึ้นในกระทรวงศึกษาธิการโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นทุนหมุนเวียนสำหรับการให้กู้ยืมเงินแก่โรงเรียนในระบบ
มาตรา ๑๖ ให้ยกเลิกความใน (๔) ของวรรคสองของมาตรา ๔๙ แห่งพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐
มาตรา ๕๑ เงินกองทุนที่ได้รับตามมาตรา ๔๙ วรรคสอง (๔) ถ้าโรงเรียนในระบบที่ส่งเงินนั้นเลิกกิจการ
มาตรา ๕๓ การรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการบริหารกองทุน ให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกำหนด
ส่วนที่ ๑
การจัดตั้งและเปิดดำเนินการ
มาตรา ๑๙ ตราสารจัดตั้งตามมาตรา ๑๘ วรรคสอง อย่างน้อยต้องมีรายการ ดังต่อไปนี้
(๔) เงินทุนและทรัพย์สินที่ใช้ในการจัดตั้ง
(๑) วัตถุประสงค์
(๕) รายการอื่นตามที่กำหนดในพระราชบัญญัตินี้และที่กำหนดในกฎกระทรวง
(๒) ชื่อ ประเภท ระดับ ของโรงเรียนในระบบ
(๓) รายละเอียดเกี่ยวกับที่ดิน ที่ตั้ง และแผนผังแสดงบริเวณและอาคารของโรงเรียนในระบบ
มาตรา ๓๑ ให้คณะกรรมการบริหารของโรงเรียนในระบบมีอำนาจหน้าที่
มาตรา ๒๖ เมื่อผู้รับใบอนุญาตได้ดำเนินการตามมาตรา ๒๕ แล้ว และพร้อมที่จะเปิดดำเนินกิจการโรงเรียนในระบบ ให้แจ้งให้ผู้อนุญาตทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่าสามสิบวัน
มาตรา ๒๗[๗] การโอนกรรมสิทธิ์ สิทธิครอบครองในที่ดินและอสังหาริมทรัพย์ที่เป็นส่วนควบของที่ดินตามมาตรา ๒๕ (๑) รวมทั้งทรัพย์สินใด ๆ
มาตรา ๒๘[๑๓] ชื่อของโรงเรียนในระบบต้องใช้อักษรไทยขนาดใหญ่พอสมควรติดไว้ที่บริเวณโรงเรียนในระบบ ณ ที่ซึ่งเห็นได้ง่าย โดยต้องมีคำว่า “โรงเรียน” ประกอบชื่อด้วย
มาตรา ๙ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๒๘ แห่งพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“มาตรา ๒๘ ชื่อของโรงเรียนในระบบต้องใช้อักษรไทยขนาดใหญ่พอสมควรติดไว้ที่บริเวณโรงเรียนในระบบ ณ ที่ซึ่งเห็นได้ง่าย โดยต้องมีคําว่า “โรงเรียน” ประกอบชื่อด้วย ในกรณีที่มีอักษรต่างประเทศกํากับ ต้องไม่มีขนาดใหญ่กว่าอักษรไทย และสําหรับโรงเรียนในระบบที่จัดการศึกษาประเภทอาชีวศึกษาทั้งระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพและระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงอาจใช้คําว่า
“วิทยาลัยอาชีวศึกษา” หรือ “วิทยาลัยเทคโนโลยี” ประกอบชื่อแทนคําว่า “โรงเรียน” ก็ได้”
มาตรา ๒๓ ผู้ขอรับใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนในระบบต้องมีหลักฐานแสดงได้ว่าเมื่อได้รับอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียน
มาตรา ๒๒ ผู้ขอรับใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนในระบบที่เป็นนิติบุคคลต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม
มาตรา ๓๔ ในกรณีที่กระทรวงศึกษาธิการเห็นว่าค่าธรรมเนียมการศึกษาและค่าธรรมเนียมอื่นที่โรงเรียนในระบบกำหนดตามมาตรา ๓๒
มาตรา ๓๓ ในกรณีที่คณะกรรมการเห็นว่าการกำหนดค่าธรรมเนียมการศึกษาและค่าธรรมเนียมอื่นตามมาตรา ๓๒
มาตรา ๒๗/๑[๑๐] การบริจาคที่ดินและอสังหาริมทรัพย์ที่เป็นส่วนควบของที่ดินให้แก่โรงเรียนในระบบ
มาตรา ๗ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๒๗ แห่งพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“มาตรา ๒๗ การโอนกรรมสิทธิ์ สิทธิครอบครองในที่ดินและอสังหาริมทรัพย์ที่เป็นส่วนควบของที่ดินตามมาตรา ๒๕ (๑) รวมทั้งทรัพย์สินใด ๆ ที่จะต้องใช้ในกิจการของโรงเรียนให้แก่โรงเรียนในระบบเพื่อประโยชน์ในการจัดการศึกษา ให้ผู้โอนและผู้รับโอนได้รับยกเว้นค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเก่ียวกับอสังหาริมทรัพย์ และได้รับยกเว้นภาษีอากรตามที่จะได้มีพระราชกฤษฎีกาออกตามประมวลรัษฎากรกําหนดไว้การยกเว้นค่าธรรมเนียมและภาษีอากรตามวรรคหนึ่ง ให้รวมถึงการโอนกรรมสิทธิ์สิทธิ
ครอบครองในที่ดินและอสังหาริมทรัพย์ที่เป็นส่วนควบของที่ดิน รวมทั้งทรัพย์สินใด ๆ ที่ได้ใช้ในกิจการของโรงเรียนนั้นคืนใหแก้ ่ผู้รับใบอนุญาต เจ้าของเดิม หรือทายาท เมื่อโรงเรียนในระบบเลิกใช้ประโยชนในที่ดินหรือเลิกกิจการให้นําความในวรรคหนึ่งและวรรคสองมาใช้กับการโอนกรรมสิทธิ์ สิทธิครอบครองในที่ดินและอสังหาริมทรัพย์ที่เป็นส่วนควบของที่ดิน รวมทั้งทรัพย์สินใด ๆ ที่ใช้ในกิจการโรงเรียนของโรงเรียนในระบบที่จัดตั้งก่อนพระราชบัญญัติโรงเรยนเอกชน ี พ.ศ. ๒๕๕๐ มีผลบังคับใช้โดยอนุโลม”
มาตรา ๘ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๒๗/๑ แห่งพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐
“มาตรา ๒๗/๑ การบริจาคที่ดินและอสังหาริมทรัพย์ที่เป็นส่วนควบของที่ดินให้แก่โรงเรียนในระบบ ให้ผู้บริจาคได้รับยกเว้นค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์
และได้รับยกเว้นภาษีอากรตามที่จะได้มีพระราชกฤษฎีกาออกตามประมวลรัษฎากรกําหนดไว้
ที่ดินและอสังหาริมทรัพย์ที่เป็นส่วนควบของที่ดินที่มีผู้บริจาคให้แก่โรงเรียนในระบบจะต้องจัดการตามวัตถุประสงค์ของโรงเรียนในระบบและเงื่อนไขที่ผู้บริจาคได้กําหนดไว้ แต่ถ้ามีความจําเป็นต้องเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขดังกล่าว โรงเรียนในระบบต้องได้รับความยนยอมจากผ ิ ู้บริจาคหรือทายาท หากไม่มีทายาทหรือทายาทไม่ปรากฏ จะต้องได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริหารการยกเว้นค่าธรรมเนียมและภาษีอากรตามวรรคหนึ่ง ให้รวมถึงการโอนกรรมสิทธิ์สิทธิครอบครองในที่ดินและอสังหาริมทรัพย์ที่เป็นส่วนควบของที่ดินนั้นคืนให้แก่ผู้บริจาคหรือทายาทเมื่อโรงเรียนในระบบเลิกใช้ประโยชน์ในที่ดินหรือเลิกกิจการ”
มาตรา ๓๐[๑๔] ให้โรงเรียนในระบบมีคณะกรรมการบริหารประกอบด้วย ผู้รับใบอนุญาตผู้จัดการ ผู้อำนวยการ ผู้แทนครู ผู้แทนผู้ปกครอง และผู้ทรงคุณวุฒิ เป็นกรรมการ
มาตรา ๑๐ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๓๐ แห่งพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“มาตรา ๓๐ ให้โรงเรียนในระบบมีคณะกรรมการบริหารประกอบด้วย ผู้รับใบอนุญาตผู้จัดการ ผู้อํานวยการ ผู้แทนครู ผู้แทนผู้ปกครอง และผู้ทรงคุณวุฒิ เป็นกรรมการ ในกรณีที่ผู้รับใบอนุญาตเป็นบุคคลเดียวกับผู้จัดการหรือผู้อํานวยการหรือบุคคลเดียวกันทั้งสามตําแหน่ง ให้ตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งหรือสองคน ทั้งนี้ จํานวนและคุณสมบัติของกรรมการต้องสอดคล้องกับขนาดและประเภทของโรงเรียนในระบบตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่คณะกรรมการกําหนด
หลักเกณฑ์ วิธีการสรรหากรรมการ การเลือกประธานกรรมการ วาระการดํารงตําแหน่งและการพ้นจากตําแหน่ง ให้เป็นไปตามที่กําหนดไว้ในตราสารจัดตั้งในกรณีโรงเรียนในระบบมีความจําเป็นต้องมีที่ปรึกษาหรือคณะอนุกรรมการเพื่อทําหน้าที่ช่วยเหลือคณะกรรมการบริหาร ให้สามารถกระทําได้โดยกําหนดไว้ในตราสารจัดตั้งในวาระเริ่มแรกที่จัดตั้งโรงเรียนในระบบและยังไม่มีผู้แทนผู้ปกครอง ให้คณะกรรมการบริหารตามวรรคหนึ่งประกอบด้วยกรรมการอื่นเท่าที่มีอยู่”
มาตรา ๑๘ การจัดตั้งโรงเรียนในระบบต้องได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาต
มาตรา ๒๕ เมื่อโรงเรียนในระบบเป็นนิติบุคคลตามมาตรา ๒๔ แล้ว ให้ผู้รับใบอนุญาตดำเนินการ
มาตรา ๖ ให้ยกเลิกความใน (๑) ของมาตรา ๒๕ แห่งพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชนพ.ศ. ๒๕๕๐ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“(๑) โอนกรรมสิทธิ์ สิทธิครอบครองในที่ดินและอสังหาริมทรัพย์ที่เป็นส่วนควบของที่ดินสิทธิเหนือพื้นดิน สิทธิเก็บกิน หรือสิทธิการเช่าที่ปลอดจากภาระผูกพันอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่ระบุไว้ในคําขอรับใบอนุญาตให้แก่โรงเรียนในระบบภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันได้รับใบอนุญาต”
มาตรา ๓๒ การกำหนดค่าธรรมเนียมการศึกษาและค่าธรรมเนียมอื่นของโรงเรียนในระบบให้คำนึงถึงค่าใช้จ่ายในการจัดการการศึกษา
มาตรา ๑๑ ให้ยกเลิกวรรคสองของมาตรา ๓๒ แห่งพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐
มาตรา ๒๙ โรงเรียนในระบบอาจจัดตั้งสาขาได้ การจัดตั้ง การขออนุญาต และการอนุญาต ให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกำหนด
มาตรา ๒๔ เมื่อได้รับใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนในระบบแล้ว ให้โรงเรียนในระบบเป็นนิติบุคคลนับแต่วันที่ได้รับใบอนุญาต
มาตรา ๒๐ รายละเอียดเกี่ยวกับกิจการของโรงเรียนในระบบตามมาตรา ๑๘ วรรคสอง
มาตรา ๒๑ ผู้ขอรับใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนในระบบที่เป็นบุคคลธรรมดาต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม
มาตรา ๑๗ ประเภทและระดับของโรงเรียนในระบบ ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการกำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ส่วนที่ ๕
การสงเคราะห์
มาตรา ๖๑ ให้มีคณะกรรมการกองทุนสงเคราะห์
มาตรา ๕๖ ดอกผลของเงินและทรัพย์สินของกองทุนสงเคราะห์ตามมาตรา ๕๕ ให้คำนวณแยกตามสัดส่วนของเงินกองทุนสงเคราะห์ ดังต่อไปนี้
(๑) ดอกผลของเงินกองทุนสงเคราะห์ตามมาตรา ๕๕
(๒) ดอกผลของเงินกองทุนสงเคราะห์ตามมาตรา ๕๕ (๑) (๓) (๔) (๕) (๖) และ (๗)
มาตรา ๕๘ กิจการของกองทุนสงเคราะห์ไม่อยู่ภายใต้บังคับกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานและกฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์
มาตรา ๕๔ ให้มีกองทุนสงเคราะห์เป็นนิติบุคคล มีวัตถุประสงค์เพื่อสงเคราะห์ผู้อำนวยการ ครู และบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา ๘๕ ให้ผู้สอบบัญชีจัดทำรายงานการสอบบัญชีที่แสดงความเห็นต่องบการเงินเสนอคณะกรรมการกองทุนสงเคราะห์เพื่อรับรองภายในหนึ่งร้อยห้าสิบวัน และให้คณะกรรมการกองทุนสงเคราะห์เสนอต่อรัฐมนตรีภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันสิ้นปีบัญชี
มาตรา ๖๐ ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานของกองทุนสงเคราะห์ ให้จ่ายจากดอกผลของกองทุนสงเคราะห์ตามมาตรา ๕๖ (๒)
มาตรา ๕๕ กองทุนสงเคราะห์ประกอบด้วยเงินและทรัพย์สิน
มาตรา ๕๗ ให้กองทุนสงเคราะห์มีสำนักงานใหญ่ ณ สถานที่ที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดในราชกิจจานุเบกษา
มาตรา ๕๙ ให้กองทุนสงเคราะห์มีอำนาจกระทำกิจการต่าง ๆ ภายในขอบแห่งวัตถุประสงค์ตามมาตรา ๕๔
ส่วนที่ ๒
ทรัพย์สินและบัญชี
มาตรา ๔๔ (ยกเลิก)
มาตรา ๑๒ ให้ยกเลิกมาตรา ๔๔ และมาตรา ๔๕ แห่งพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐
มาตรา ๔๖[๒๐] ให้ผู้จัดการเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดวางระบบและจัดทำบัญชีการเงินและบัญชีอื่นของโรงเรียนในระบบ
มาตรา ๑๓ ให้ยกเลิกความในวรรคหนึ่งของมาตรา ๔๖ แห่งพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“มาตรา ๔๖ ให้ผู้จัดการเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดวางระบบและจัดทําบัญชีการเงินและบัญชีอื่นของโรงเรียนในระบบตามแบบและระเบียบที่คณะกรรมการกําหนด”
มาตรา ๔๗[๒๑] ให้คณะกรรมการบริหารดำเนินการให้มีการตรวจสอบบัญชีของโรงเรียนในระบบเพื่อตรวจสอบและแสดงความเห็นต่องบการเงินของโรงเรียน
มาตรา ๑๔ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๔๗ แห่งพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“มาตรา ๔๗ ให้คณะกรรมการบริหารดําเนินการให้มีการตรวจสอบบัญชีของโรงเรียนในระบบ เพื่อตรวจสอบและแสดงความเห็นต่องบการเงินของโรงเรียนในระบบภายในหนึ่งร้อยห้าสิบวันนับแต่วันสิ้นรอบปีบัญชี ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการกําหนด
วันเริ่มและวันสิ้นปีบัญชีของโรงเรียนในระบบให้เป็นไปตามประกาศของโรงเรียนในระบบให้คณะกรรมการบริหารจัดสรรผลตอบแทนที่ได้จากการดําเนินการของโรงเรียนในระบบให้แก่ผู้รับใบอนุญาตตามที่เห็นสมควร เว้นแต่ผลตอบแทนจากการดําเนินการของโรงเรียนการกุศลให้คณะกรรมการบริหารจัดสรรให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการกําหนด”
มาตรา ๔๕[๑๙] (ยกเลิก)
มาตรา ๑๒ ให้ยกเลิกมาตรา ๔๔ และมาตรา ๔๕ แห่งพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐
ส่วนที่ ๓
การอุดหนุนและส่งเสริม
(๒) จัดครูพร้อมทั้งค่าตอบแทนครูให้ รวมทั้งจัดหาอุปกรณ์การศึกษา สิ่งอำนวยความสะดวก สื่อ บริการและความช่วยเหลืออื่นทางการศึกษา สำหรับนักเรียนพิการ ผู้ด้อยโอกาส และผู้มีความสามารถพิเศษ
(๑) จัดบุคลากรทางการศึกษาพร้อมทั้งค่าตอบแทนบุคลากรดังกล่าวให้ในกรณีขาดแคลนหรือในกรณีมุ่งเน้นวิชาการด้านใดด้านหนึ่ง
(๕) ลดหย่อนหรือยกเว้นภาษีโรงเรือนและที่ดิน หรือภาษีอื่นใดในทำนองเดียวกัน ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายกำหนด
(๓) ลดหย่อนหรือยกเว้นอากรขาเข้าสินค้าประเภทครุภัณฑ์และอุปกรณ์ที่ใช้ในการศึกษา ทั้งนี้ ตามที่กำหนดในกฎหมายว่าด้วยพิกัดอัตราศุลกากร
มาตรา ๔๘ รัฐพึงให้การอุดหนุนและส่งเสริมโรงเรียนในระบบนอกเหนือจากเงินอุดหนุนตามมาตรา ๓๕ ได้ตามที่คณะกรรมการเสนอแนะ โดยเฉพาะในเรื่อง ดังต่อไปนี้
(๔)[๒๔] ลดหย่อนหรือยกเว้นเงินภาษีเงินได้ของผู้รับใบอนุญาต ทั้งนี้ ตามที่กำหนดในประมวลรัษฎากร
มาตรา ๑๕ ให้ยกเลิกความใน (๔) ของมาตรา ๔๘ แห่งพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชนพ.ศ. ๒๕๕๐ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“(๔) ลดหย่อนหรือยกเว้นเงินภาษีเงินได้ของผู้รับใบอนุญาต ทั้งน้ี ตามที่กําหนดในประมวลรัษฎากร”
ส่วนที่ ๖
การคุ้มครองการทำงาน
มาตรา ๘๖[๒๖] กิจการของโรงเรียนในระบบเฉพาะในส่วนของผู้อำนวยการ ครูและบุคลากรทางการศึกษา ไม่อยู่ภายใต้บังคับกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน
มาตรา ๑๗ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๘๖ แห่งพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“มาตรา ๘๖ กิจการของโรงเรียนในระบบเฉพาะในส่วนของผู้อํานวยการ ครูและบุคลากรทางการศกษา ึ ไม่อยู่ภายใต้บังคับกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน กฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธกฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม และกฎหมายว่าด้วยเงินทดแทน แต่ผู้อํานวยการ ครู และบุคลากร
ทางการศึกษาของโรงเรียนต้องได้รับประโยชน์ตอบแทนไม่น้อยกว่าที่กําหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานการคุ้มครองการทํางาน การจัดให้มีคณะกรรมการคุ้มครองการทํางานและประโยชน์ตอบแทนั้นต่ําของผู้อํานวยการ ครู และบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนในระบบ ให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนด”
ส่วนที่ ๘
จรรยา มรรยาท วินัย และหน้าที่
มาตรา ๑๐๕ ผู้รับใบอนุญาต ผู้อำนวยการ ผู้บริหาร ผู้จัดการ ครู และบุคลากรทางการศึกษาที่ไม่อยู่ในบังคับของกฎหมายว่าด้วยสภาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีจรรยา มรรยาท วินัย และหน้าที่ ตามระเบียบที่คณะกรรมการกำหนด
ส่วนที่ ๗
การกำกับดูแล
มาตรา ๑๐๓ เมื่อผู้อนุญาตได้รับรายงานตามมาตรา ๑๐๒ แล้ว ให้ผู้อนุญาตมีอำนาจสั่งให้คณะกรรมการควบคุมโรงเรียนในระบบดำเนินการควบคุมต่อไป
มาตรา ๑๐๔ ในการปฏิบัติหน้าที่ ให้คณะกรรมการควบคุมโรงเรียนในระบบเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา และมีอำนาจเช่นเดียวกับพนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา ๑๒๘
มาตรา ๙๑ ในกรณีที่ปรากฏว่าอาคาร สถานที่ หรือบริเวณของโรงเรียนในระบบมีสภาพขัดต่อสุขลักษณะหรืออนามัย ไม่มั่นคง
มาตรา ๑๐๒ เมื่อคณะกรรมการควบคุมโรงเรียนในระบบเห็นว่าโรงเรียนในระบบที่ถูกควบคุมไม่สมควรดำเนินกิจการต่อไปไม่ว่าด้วยเหตุใด ให้รายงานผู้อนุญาตเพื่อพิจารณาสั่งการต่อไป
มาตรา ๙๕ โรงเรียนในระบบใดฝ่าฝืนผู้อนุญาตมีอำนาจออกคำสั่งให้แก้ไขภายในเวลาที่กำหนด
มาตรา ๙๔ การโฆษณาของโรงเรียนในระบบต้องไม่เป็นเท็จ เกินความจริงหรือขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน
มาตรา ๙๓ เมื่อความปรากฏต่อพนักงานเจ้าหน้าที่หรือมีผู้ร้องเรียนว่าโรงเรียนในระบบก่อให้เกิดความเดือดร้อนให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีหน้าที่ดำเนินการตรวจสอบเพื่อทราบข้อเท็จจริงโดยเร็ว
มาตรา ๙๒ ในกรณีที่อาคาร สถานที่ หรือบริเวณของโรงเรียนในระบบถูกทำลายให้ผู้อำนวยการแจ้งเป็นหนังสือให้ผู้อนุญาตทราบและดำเนินการแก้ไขให้แล้วเสร็จโดยเร็ว
มาตรา ๘๗ ห้ามผู้รับใบอนุญาต ผู้อำนวยการ ผู้จัดการ ครู และบุคลากรทางการศึกษาใช้หรือยอมให้ผู้อื่นใช้อาคาร สถานที่ และบริเวณของโรงเรียนในระบบเพื่อการอันมิชอบด้วยกฎหมาย
มาตรา ๘๘ ห้ามโรงเรียนในระบบทำหรือยินยอมให้บุคคลอื่นทำการใดอันอาจเป็นภัยต่อความมั่นคงหรือความปลอดภัยของประเทศหรือวัฒนธรรมของชาติหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน
มาตรา ๘๙ ห้ามโรงเรียนในระบบหยุดสอนติดต่อกันเกินเจ็ดวันอันมิใช่เป็นการหยุดตามปกติของโรงเรียน
มาตรา ๙๐ ในกรณีที่มีภยันตรายหรือเหตุการณ์อันกระทบต่อสวัสดิภาพของนักเรียนหรือการจัดการศึกษาให้แก่นักเรียน
ส่วนที่ ๙
การโอนใบอนุญาตให้
จัดตั้งโรงเรียนในระบบ
มาตรา ๑๐๖ ผู้รับใบอนุญาตผู้ใดประสงค์จะโอนใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนในระบบให้บุคคลอื่น ให้ยื่นคําขอต่อผู้อนุญาตตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการกําหนดเมื่อผู้อนุญาตเห็นว่าผู้รับโอนมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๒๑ หรือมาตรา ๒๒ แล้วแต่กรณีให้อนุญาตโดยเร็ว
มาตรา ๑๐๗ ในกรณีที่ผู้รับใบอนุญาตตายหรือเป็นคนสาบสูญ และทายาทมีความประสงค์จะดําเนินกิจการโรงเรียนในระบบต่อไป ให้ทายาทซึ่งมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๒๑ หรือในกรณีที่มีทายาทหลายคน ให้ทายาทด้วยกันนั้นตกลงตั้งทายาทคนหนึ่งซึ่งมี
คุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๒๑ ยื่นคําขอรับโอนใบอนุญาตต่อผู้อนุญาตภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่ผู้รับใบอนุญาตตายหรือสาบสูญหรือภายในระยะเวลาที่ผู้อนุญาตขยายเวลาตามความจําเป็นถ้ามิได้ยื่นคําขอภายในเวลาที่กําหนดให้ผู้อนุญาตมีคําสั่งควบคุมโรงเรียนในระบบตามมาตรา ๙๖ ในกรณีที่ผู้รับใบอนุญาตไปเสียจากภูมิลําเนาหรือถิ่นที่อยู่
โดยไม่มีผู้ใดได้รับข่าวเกี่ยวกับผู้รับใบอนุญาตเป็นเวลาเกินสามสิบวัน ทายาทของผู้รับใบอนุญาตตามวรรคหนึ่งมีสิทธิยื่นคําขออนุญาตทําหน้าที่แทนผู้รับใบอนุญาตจนกว่าศาลจะมีคําสั่งให้ผู้รับใบอนุญาตเป็นคนสาบสูญหรือผู้รับใบอนุญาตตายหรือปรากฏตัวผู้รับใบอนุญาตตายหรือปรากฏตัวเมื่อยื่นคําขอรับโอนใบอนุญาตตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสองแล้ว ให้ผู้ยื่นคําขอมีสิทธิและหน้าที่เช่นเดียวกับผู้รับใบอนุญาตไปพลางก่อนจนกว่าผู้อนุญาตจะไม่อนุญาตให้โอนใบอนุญาต
มาตรา ๑๐๘ เมื่อมีกรณีตามมาตรา ๑๐๗ วรรคหนึ่ง หรือกรณีผู้รับใบอนุญาตได้ไปเสียจากภูมิลําเนาหรือถิ่นที่อยู่ตามมาตรา ๑๐๗ วรรคสอง เป็นเวลาถึงหนึ่งปีถ้าทายาทไม่ประสงค์จะดําเนินกิจการโรงเรียนในระบบนั้นต่อไป ให้ทายาทยื่นคําขอเลิกกิจการโรงเรียนในระบบตามมาตรา ๑๑๔ หรือโอนใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนในระบบให้บุคคลอื่นตามมาตรา ๑๐๖ ทั้งนี้ภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่ผู้รับใบอนุญาตตาย สาบสูญ หรือวันที่ครบหนึ่งปีที่ไปเสียจากภูมิลําเนาหรือถิ่นที่อยู่ถ้ามิได้ยื่นคําขอภายในเวลาที่กําหนดให้ผู้อนุญาตมีคําสั่งควบคุมโรงเรียนในระบบตามมาตรา ๙๖
มาตรา ๑๐๙ ในกรณีตามมาตรา ๑๐๗ ถ้าไม่มีทายาทคนใดมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๒๑ หรือในกรณีที่มีทายาทหลายคนแต่ไม่สามารถตกลงกันได้และทายาทยังประสงค์จะดําเนินกิจการโรงเรียนในระบบต่อไป ให้ทายาทหรือผู้จัดการมรดกดําเนินการจัดตั้งนิติ
บุคคลที่มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๒๒ เพื่อยื่นคําขอรับโอนใบอนุญาตต่อผู้อนุญาตภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่จัดตั้งนิติบุคคลโดยให้นําความในมาตรา ๑๐๗ วรรคสาม มาใช้บังคับด้วยโดยอนุโลม ถ้ามิได้ยื่นคําขอภายในเวลาที่กําหนดให้ผู้อนุญาตมีคําสั่งควบคุมโรงเรียนในระบบตามมาตรา ๙๖
มาตรา ๑๑๐ ในกรณีที่ผู้รับใบอนุญาตเป็นบุคคลธรรมดาและขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๒๑ ให้ผู้รับใบอนุญาตโอนใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนในระบบให้ผู้มี
คุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๒๑ หรือมาตรา ๒๒ แล้วแต่กรณีภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามดังกล่าวในกรณีที่ผู้รับใบอนุญาตเป็นนิติบุคคลและขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๒๒ นิติบุคคลนั้นต้องแก้ไขให้ถูกต้องภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามดังกล่าวถ้าผู้รับใบอนุญาตไม่อาจดําเนินการภายในเวลาที่กําหนดตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสองแล้วแต่กรณีให้ผู้อนุญาตสั่งควบคุมโรงเรียนในระบบตามมาตรา ๙๖
มาตรา ๑๑๑ ในกรณีที่ผู้รับใบอนุญาตเป็นนิติบุคคลและสิ้นสภาพนิติบุคคลหรือล้มละลาย
ให้ผู้อนุญาตมีคําสั่งควบคุมโรงเรียนในระบบตามมาตรา ๙๖
มาตรา ๑๑๒ ในระหว่างที่ไม่มีผู้ปฏิบัติหน้าที่ผู้รับใบอนุญาตตามหมวดนี้ให้ผู้อํานวยการมีอํานาจหน้าที่และความรับผิดชอบเช่นเดียวกับผู้รับใบอนุญาต
ส่วนที่ ๑๐
การเลิกกิจการและการชําระบัญช
มาตรา ๑๑๓ โรงเรียนในระบบเลิกกิจการเมื่อ
(๑) ผู้รับใบอนุญาตหรือทายาท แล้วแต่กรณีได้รับอนุญาตให้เลิกกิจการโรงเรียนในระบบ
(๒) ผู้รับใบอนุญาตถูกเพิกถอนใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนในระบบ
มาตรา ๑๑๔ ในกรณีที่ผู้รับใบอนุญาตหรือทายาท แล้วแต่กรณีไม่ประสงค์จะดําเนิน
กิจการโรงเรียนในระบบต่อไป ให้ยื่นคําขอเลิกกิจการโรงเรียนในระบบพร้อมด้วยเหตุผลต่อผู้อนุญาตล่วงหน้าไม่น้อยกว่าหนึ่งร้อยยี่สิบวันก่อนสิ้นปีการศึกษาในกรณีที่มีเหตุพ้นวิสัยที่โรงเรียนในระบบจะดําเนินกิจการต่อไปได้ผู้รับใบอนุญาตหรือทายาทแล้วแต่กรณีจะขออนุญาตเลิกกิจการโรงเรียนในระบบโดยยื่นคําขอล่วงหน้าน้อยกว่าระยะเวลาที่กําหนดตามวรรคหนึ่งก็ได้ในการอนุญาตตามคําขอตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสองผู้อนุญาตจะกําหนดมาตรการหรือเงื่อนไขให้โรงเรียนในระบบต้องปฏิบัติเพื่อคุ้มครองหรือเพื่อประโยชน์ในการจัดการศึกษาของนักเรียนในโรงเรียนนั้นก่อนอนุญาตให้เลิกกิจการโรงเรียนในระบบตามที่เห็นสมควรก็ได้
มาตรา ๑๑๕ เมื่อโรงเรียนในระบบเลิกกิจการตามมาตรา ๑๑๓ ให้คณะกรรมการบริหารหรือคณะกรรมการควบคุมโรงเรียนในระบบ แล้วแต่กรณีแต่งตั้งผู้ชําระบัญชีเพื่อชําระบัญชีของโรงเรียนในระบบ และให้นําความในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยการชําระบัญชีห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน ห้างหุ้นส่วนจํากัดและบริษัทจํากัด มาใช้บังคับโดยอนุโลมในระหว่างการชําระบัญชีให้ถือว่าโรงเรียนในระบบนั้นยังคงตั้งอยู่ตราบเท่าเวลาที่จําเป็นเพื่อการชําระบัญชีเมื่อได้ชําระบัญชีตามวรรคหนึ่งแล้วถ้ามีทรัพย์สินเหลืออยู่ให้คืนแก่ผู้รับใบอนุญาต
มาตรา ๑๑๖ ก่อนได้รับอนุญาตให้เลิกกิจการโรงเรียนในระบบ ให้ผู้รับใบอนุญาตผู้อํานวยการ และผู้จัดการมีหน้าที่ส่งมอบเอกสารหลักฐานตามมาตรา ๓๙ (๔) และ (๕) และเอกสารอื่นที่คณะกรรมการกําหนดให้แก่ผู้อนุญาตในกรณีที่ผู้อนุญาตเห็นว่าเอกสารหลักฐานที่ส่งตามวรรคหนึ่งยังไม่ครบถ้วน ให้ผู้อนุญาตมีอํานาจส่งให้ บุคคลตามวรรคหนึ่งส่งเพิ่มเติมจนครบถ้วนภายในเวลาที่กําหนดได้และเพื่อประโยชน์
แห่งการนี้ให้ถือว่าบุคคลดังกล่าวยังคงมีหน้าที่ตามวรรคหนึ่งต่อไปจนกว่าจะส่งเอกสารหลักฐาน
ครบถ้วนเมื่อโรงเรียนในระบบเลิกกิจการแล้วและมีความจําเป็นต้องออกหนังสือรับรองผลการศึกษาของนักเรียน ให้ผู้อนุญาตมีอํานาจออกให้แทนโรงเรียนในระบบได้ให้ผู้อนุญาตดําเนินการช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนในระบบที่เลิกกิจการตามควรแกกรณี
ส่วนที่ ๑๑ การอุทธรณ์
มาตรา ๑๑๗ ในกรุงเทพมหานคร ให้มีคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ประกอบด้วยปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธานกรรมการ ผู้แทนสํานักงานอัยการสูงสุด เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน และประธานกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาในกรุงเทพมหานครคนหนึ่งซึ่งคณะกรรมการแต่งตั้ง เป็นกรรมการและให้ปลัดกระทรวงศึกษาธิการแต่งตั้งผู้อํานวยการสถานศึกษาของรัฐในกรุงเทพมหานคร เป็นเลขานุการคนหนึ่งและผู้ช่วยเลขานุการคนหนึ่งในจังหวัดอื่นแต่ละจังหวัดนอกจากกรุงเทพมหานคร ให้มีคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ประกอบด้วยผู้ว่าราชการจังหวัดหรือรองผู้ว่าราชการจังหวัดซึ่งผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมายเป็นประธานกรรมการ ผู้แทนสํานักงานอัยการจังหวัด นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดและประธานกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาในจังหวัดนั้นคนหนึ่งซึ่งผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตั้งเป็นกรรมการและให้ผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตั้งผู้อํานวยการสถานศึกษาของรัฐในจังหวัดนั้นเป็นเลขานุการคนหนึ่งและผู้ช่วยเลขานุการคนหนึ่งให้นําความในมาตรา ๑๒ มาใช้บังคับกับการประชุมของคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์โดยอนุโลม
มาตรา ๑๘ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๑๑๗ แห่งพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“มาตรา ๑๑๗ ในกรุงเทพมหานคร ให้มีคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ ประกอบด้วยปลัดกระทรวงศึกษาธิการเป็นประธานกรรมการ ผู้แทนสํานกงานอ ั ัยการสูงสุด เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน และประธานกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาในกรุงเทพมหานครคนหนึ่ง ซึ่งคณะกรรมการแต่งตั้งเป็นกรรมการ และให้ปลัดกระทรวงศึกษาธิการแต่งตั้งผู้แทนสมาคมที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาเอกชนจํานวนสามคนเป็นกรรมการ และผู้อํานวยการสถานศึกษาของรัฐในกรุงเทพมหานคร เป็นเลขานุการคนหนึ่งและผู้ช่วยเลขานุการคนหนึ่ง
ในจังหวัดอื่นแต่ละจังหวัดนอกจากกรุงเทพมหานคร ให้มีคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ประกอบด้วย ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือรองผู้ว่าราชการจังหวัดซึ่งผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมายเป็นประธานกรรมการ ผู้แทนสํานักงานอัยการจังหวัด ประธานกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาในจังหวัดนั้นคนหนึ่งซึ่งผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตั้ง และผู้แทนคณะกรรมการประสานและส่งเสริมการศึกษาเอกชนจังหวัดจํานวนสามคนเป็นกรรมการ และให้ผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตั้งผู้อํานวยการสถานศึกษาของรัฐในจังหวัดนั้นเป็นเลขานุการคนหนึ่งและผู้ช่วยเลขานุการคนหนึ่ง เว้นแต่ในจังหวัดที่ผู้ว่าราชการจังหวัดซึ่งเลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนมอบอํานาจให้เป็นผู้อนุญาต ให้จังหวัดนั้นีปลัดกระทรวงศึกษาธิการหรือรองปลัดกระทรวงศึกษาธิการซึ่งปลัดกระทรวงศึกษาธิการมอบหมายเป็นประธานกรรมการ และให้ปลัดกระทรวงศึกษาธิการแต่งตั้งประธานกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา ผู้อํานวยการสํานักงานการศึกษาเอกชนจังหวัด และผู้แทนสมาคมโรงเรียนเอกชนจังหวัดจํานวนสามคนเป็นกรรมการ และแต่งตั้งผู้อํานวยการสถานศึกษาของรัฐในจังหวัดนั้นเป็นเลขานุการคนหนึ่งและผู้ช่วยเลขานุการคนหนึ่ง ให้นําความในมาตรา ๑๒ มาใช้บังคับการประชุมของคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์โดยอนุโลม”
มาตรา ๑๑๘ ผู้ซึ่งต้องปฏิบัติตามคําสั่งหรือได้รับผลกระทบจากคําสั่งของผู้อนุญาตผู้ใดไมพอใจในคําสั่งดังกล่าวให้มีสิทธิยื่นอุทธรณ์เป็นหนังสือต่อคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ได้ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับหนังสือแจ้งคําสั่งจากผู้อนุญาตหรือวันที่ทราบคําสั่งแล้วแต่กรณีคําวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ให้เป็นที่สุด
มาตรา ๑๑๙ การยื่นอุทธรณ์การรับอุทธรณ์วิธีพิจารณาอุทธรณ์และกําหนดเวลาพิจารณาอุทธรณ์ให์เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนดการอุทธรณ์ไม่เป็นการทุเลาการปฏิบัติตามคําสั่งของผู้อนุญาต เว้นแต่ประธานกรรมการของคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์จะมีคําสั่งให้ทุเลาการปฏิบัติตามคําสั่งเพื่อรอคําวินิจฉัยอุทธรณ์ตามหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่คณะกรรมการกําหนด
หมวด ๔ พนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา ๑๒๘ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ใหพนักงานเจ้าหน้าที่มีอํานาจเข้าไปในโรงเรียนในระหว่างเวลาทําการ และมีหนังสือเรียกผู้ซึ่งเกี่ยวข้องมาให้ถ้อยคํา ส่งเอกสาร หรือวัตถุที่เกี่ยวข้องเพื่อประกอบการพิจารณาการเข้าไปในโรงเรียนตามวรรคหนึ่งพนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตรประจําตัวแก่ผู้ซึ่งเกี่ยวข้องและให้ผู้ซึ่งเกี่ยวข้องอํานวยความสะดวกแก่พนกงานเจ้าหน้าที่ตามสมควรบัตรประจําตัวพนักงานเจ้าหน้าที่ให้เป็นไปตามที่กําหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๑๒๙ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่และกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ตามมาตรา ๑๑๗ เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
หมวด ๑
คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษา
มาตรา ๘ ให้มีคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ประกอบด้วย
(๕) กรรมการซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งจากผู้ทรงคุณวุฒิสี่คน ในจำนวนนั้นจะต้องเป็นผู้ทรงคุณวุฒิด้านการศึกษาพิเศษสำหรับคนพิการหนึ่งคน
(๓) กรรมการซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งจากผู้แทนสมาคมเกี่ยวกับโรงเรียนเอกชนสองคน
(๔) กรรมการซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งจากผู้ได้รับคัดเลือกจากผู้รับใบอนุญาต ผู้อำนวยการ ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา ฝ่ายละหนึ่งคน
(๑ )รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธานกรรมการ
(๒) ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เป็นกรรมการโดยตำแหน่ง
มาตรา ๑๐ นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระตามมาตรา ๙ กรรมการตามมาตรา ๘ (๓) (๔) และ (๕) พ้นจากตำแหน่ง เมื่อ
(๑) ตาย
(๕) เป็นบุคคลล้มละลาย คนไร้ความสามารถ หรือคนเสมือนไร้ความสามารถ
(๔) ขาดคุณสมบัติของการเป็นกรรมการในประเภทนั้น
(๓) รัฐมนตรีให้ออก เพราะมีความประพฤติเสื่อมเสีย
(๒) ลาออก
(๖) ถูกจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก
มาตรา ๑๒ ให้นำกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองมาใช้บังคับกับการประชุมและการวินิจฉัยชี้ขาดของคณะกรรมการด้วยโดยอนุโลม
มาตรา ๑๓ ให้คณะกรรมการมีอำนาจหน้าที่
มาตรา ๑๕ เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมการจัดการศึกษาเอกชน ในจังหวัดหนึ่งนอกจากกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
มาตรา ๑๖ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาใดมีกลุ่มส่งเสริมสถานศึกษาเอกชนตามมาตรา ๑๕ ให้คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษานั้นมีกรรมการเพิ่มขึ้นอีกสองคน โดยเป็นผู้แทนผู้รับใบอนุญาตหนึ่งคนและผู้แทนครูหนึ่งคน
มาตรา ๑๑ ในกรณีที่กรรมการตามมาตรา ๘ (๓) (๔) หรือ (๕) พ้นจากตำแหน่งก่อนครบวาระให้ดำเนินการแต่งตั้งกรรมการขึ้นใหม่โดยเร็ว
มาตรา ๑๔[๕] ให้มีสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนในสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
มาตรา ๕ ให้ยกเลิกความในวรรคหนึ่งของมาตรา ๑๔ แห่งพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชนพ.ศ. ๒๕๕๐ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“มาตรา ๑๔ ให้มีสํานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนในสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ โดยมีเลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนซึ่งมีฐานะเป็นอธิบดี และเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ พนักงานและลูกจ้าง และรับผิดชอบการดําเนินงานของสํานักงาน
คณะกรรมการสงเสร ่ ิมการศึกษาเอกชน
มาตรา ๙ ให้กรรมการตามมาตรา ๘ (๓) (๔) และ (๕) มีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละสามปีและอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้ แต่จะดำรงตำแหน่งติดต่อกันเกินสองวาระมิได้
หมวด ๓
โรงเรียนนอกระบบ
มาตรา ๑๒๐ การจัดตั้งโรงเรียนนอกระบบ ต้องได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาตประเภทและลักษณะของโรงเรียนนอกระบบ รวมทั้งการจัดการเรียนการสอนและหลักสูตรของโรงเรียนนอกระบบ ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการกําหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
มาตรา ๑๒๑ การขอรับใบอนุญาต และการออกใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนนอกระบบให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง โดยผู้ขอรับใบอนุญาตจะต้องแนบรายละเอียดเกี่ยวกับกิจการของโรงเรียนนอกระบบมาพร้อมกับคําขอและอย่างน้อยต้องมีรายการดังต่อไปนี้
(๑) ชื่อ ประเภท และลักษณะของโรงเรียนนอกระบบ
(๒) ที่ตั้งและแผนผังแสดงบรเวณและอาคารของโรงเรียนนอกระบบ
(๓) หลักสูตรวิธีการเรียนการสอน และการวัดและประเมินผลการศึกษา
(๔) หลักเกณฑ์การคิดค่าธรรมเนียมการศึกษาและค่าธรรมเนียมอื่น รวมทั้งหลักเกณฑ์ในการเพิ่มค่าธรรมเนียมดังกล่าว
(๕) รายการอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๑๒๒ ให้ผู้รับใบอนุญาตจัดให้มีผู้บริหารคนหนึ่งเป็นผู้ดูแลรับผิดชอบการบริหารงานของโรงเรียนนอกระบบให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับของทางราชการและรายละเอียดตามมาตรา ๑๒๑ วรรคหนึ่ง โดยผู้รับใบอนุญาตซึ่งมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามวรรคสองจะเป็นผู้บริหารเองก็ได้และให้ส่งหลักฐานการแต่งตั้งหรือการเข้าเป็นผู้บริหารแล้วแต่กรณีให้ผู้อนุญาตทราบภายในสามสิบวันนับแต่วันแต่งตั้งหรือวันเข้าบริหาร คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของผู้บริหารให้เป็นไปตามที่กําหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๑๒๓ ให้โรงเรียนนอกระบบจัดให้มีครูหรือผู้สอนซึ่งมีคุณสมบัติเหมาะสมกับหลักสูตรและมีจํานวนที่เหมาะสมกับนักเรียน ตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนด
มาตรา ๑๒๔ คณะกรรมการจะกําหนดให้โรงเรียนนอกระบบบางประเภทหรือบางขนาดที่ผู้บริหารต้องจัดทํารายงานแสดงกิจการและงบการเงินของโรงเรียนนอกระบบเสนอต่อผู้อนุญาตทุกปีตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนดก็ได้
มาตรา ๑๒๕ การเก็บค่าธรรมเนียมการศึกษาและค่าธรรมเนียมอื่นในโรงเรียนนอกระบบต้องไม่มีลักษณะเป็นการแสวงหากําไรเกินควร เมื่อคํานึงถึงคุณภาพ มาตรฐานการศึกษาและสิทธิประโยชน์ที่นักเรียนได้รับ
มาตรา ๑๒๖ ในกรณีที่โรงเรียนนอกระบบประสงค์จะเลิกกิจการ ให้ผู้รับใบอนุญาตแจ้งเป็นหนังสือให้ผู้อนุญาตทราบไม่น้อยกว่าสามสิบวันก่อนวันที่ประสงค์จะเลิกกิจการและใหใบอนุญาตนั้นสิ้นผลเมื่อถึงกําหนดเลิกกิจการ เมื่อผู้อนุญาตตรวจพบว่าโรงเรียนนอกระบบแห่งใดหยุดดําเนินกิจการเกินเก้าสิบวันโดยไม่แจ้งเลิกกิจการตามวรรคหนึ่งผู้อนุญาตมีอํานาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตโรงเรียนนอกระบบดังกล่าวได้
มาตรา ๑๒๗ ให้นําบทบัญญตัิดังต่อไปนี้รวมทั้งบทกําหนดโทษที่เกี่ยวข้องมาใช้บังคับแก่โรงเรียนนอกระบบโดยอนุโลม
(๑) มาตรา ๒๑ มาตรา ๒๒ มาตรา ๒๘ มาตรา ๒๙ มาตรา ๓๓ และมาตรา ๔๓ วรรคหนึ่งและวรรคสาม และมาตรา ๔๘ (๓) (๔) และ (๕)
(๒) มาตรา ๗๓ มาตรา ๗๔ มาตรา ๗๕ มาตรา ๗๖ มาตรา ๗๗ มาตรา ๗๘ มาตรา ๗๙และมาตรา ๘๐ สําหรับผู้บริหารครูและบุคลากรทางการศึกษา
(๓) บทบัญญัติส่วนที่๖ ส่วนที่๗ ส่วนที่๘ ส่วนที่๙ และส่วนที่๑๑ ของหมวด ๒
มาตรา ๑๙ ให้ยกเลิกความใน (๓) ของมาตรา ๑๒๗ แห่งพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชนพ.ศ. ๒๕๕๐ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“(๓) บทบัญญัติส่วนที่ ๖ ส่วนที่ ๗ ส่วนที่ ๘ ส่วนที่ ๙ และส่วนที่ ๑๑ ของหมวด ๒ ทั้งนี้ ไม่รวมถึงมาตรา ๘๖”
พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลซึ่งมาตรา๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๓ มาตรา ๔๑ และมาตรา ๔๓ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกรัไทยบัญญัติใหกระทำ ได้โดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคําแนะนําและยินยอมของแห่งกฎหมายสภานิติบัญญัติแห่งชาติดังต่อไปนี้
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวว่า “พระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เป็นต้นไป
มาตรา ๓ ให้
ยกเลิกพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๒๕
มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้ “โรงเรียน” หมายความว่า สถานศึกษาของเอกชนที่จัดการศึกษาไม่ว่าจะเป็นโรงเรียนในระบบหรือโรงเรียนนอกระบบ ที่มิใช่เป็นสถาบันอุดมศึกษาของเอกชนตามกฎหมายว่าด้วยสถาบันอุดมศึกษาเอกชน
“โรงเรียนในระบบ” หมายความว่า โรงเรียนที่จัดการศึกษาโดยกําหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการ ศึกษา หลักสูตร ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผลซึ่งเป็นเงื่อนไขของการสําเร็จ การศึกษาที่แน่นอน
“โรงเรียนนอกระบบ” หมายความว่า โรงเรียนที่จัดการศึกษาโดยมีความยืดหยุ่นในการกําหนดจุดมุ่งหมาย รูปแบบ วิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขสําคัญของการสําเร็จการศึกษา
“นักเรียน” หมายความว่า ผู้รับการศึกษาในโรงเรียน
“ผู้รับใบอนุญาต” หมายความว่า ผู้รับใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียน
“ผู้จัดการ” หมายความว่า ผู้จัดการของโรงเรียนในระบบ
“ผู้อํานวยการ” หมายความว่า ผู้อํานวยการของโรงเรียนในระบบ
“ผู้บริหาร” หมายความว่า ผู้บริหารของโรงเรียนนอกระบบ
“ครู” หมายความว่า บุคลากรวิชาชีพซึ่งทําหน้าที่หลักทางด้านการเรียนการสอนและส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยวิธีการต่างๆ ในโรงเรียน
“ผู้สอน” หมายความว่า ผู้ทําหน้าที่ด้านการเรียนการสอนและส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยวิธีการต่างๆ ในโรงเรียนนอกระบบ
“บุคลากรทางการศึกษา” หมายความว่า ผู้สนับสนุนการศึกษาซึ่งเป็นผู้ทําหน้าที่ให้บริการหรือปฏิบัติงานเกี่ยวเนื่องกับการจัดกระบวนการเรียนการสอน การนิเทศ และการบริหารการศึกษาในโรงเรียน
“ผู้อนุญาต” หมายความว่า เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนหรือผู้อํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาซึ่งเลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนมอบหมาย
ให้ใช้ข้อความนี้แทน
(๑) เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
(๒) ผู้อํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาซึ่งเลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนมอบหมาย หรือ
(๓) ผู้ว่าราชการจังหวัดซึ่งเลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนมอบหมาย”
“ผู้อนุญาต” หมายความว่า
“คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
“ตราสารจัดตั้ง” หมายความว่า ตราสารจัดตั้งนิติบุคคลของโรงเรียนในระบบ
“กองทุน” หมายความว่า กองทุนส่งเสริมโรงเรียนในระบบ
“พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ข้าราชการซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
“รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี
มาตรา ๔ ให้ยกเลิกความในบทนิยามคําว่า “บุคลากรทางการศึกษา” และ “ผู้อนุญาต”
ในมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
““บุคลากรทางการศึกษา” หมายความว่า ผู้สนับสนุนการศึกษาซึ่งทําหน้าที่ให้บริการหรือปฏิบัติงานเกี่ยวกับการจัดกระบวนการการเรียนการสอน การนิเทศ และการบริหารการศึกษาในโรงเรียน ได้แก่ ผู้ปฏิบัติหน้าที่บรรณารักษ์ ผู้ปฏิบัติหน้าที่งานแนะแนว ผู้ปฏิบัติหน้าที่เทคโนโลยีการศึกษา ผู้ปฏิบัติหน้าที่งานทะเบียนวัดผล ผู้ปฏิบัติหน้าที่บริหารงานทั่วไป หรือผู้ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการกําหนด
มาตรา ๓ ให้ยกเลิกความในบทนิยามคําว่า “โรงเรียนนอกระบบ” ในมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ [และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“โรงเรียนนอกระบบ” หมายความว่า โรงเรียนที่จัดการศึกษาโดยมีความยืดหยุ่นในการกําหนดจุดมุ่งหมาย รูปแบบ วิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ึ่งเป็นเงื่อนไขสําคัญของการสําเร็จการศึกษา และให้หมายความรวมถึงศูนย์การศึกษาอิสลามประจํามัสยิด (ตาดีกา) และสถาบันศึกษาปอเนาะ”
มาตรา ๕ พระราชบัญญัตินี้ไม่ใช้บังคับแก่
(๑) สถานศึกษาที่มีนักเรียนรวมกันไม่เกินเจ็ดคน
(๒) สถานศึกษาที่คณะสงฆ์จัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้การศึกษาอบรม และสั่งสอนพระธรรมวินัย
(๓) สถานศึกษาอื่นที่กําหนดในกฎกระทรวงตามข้อเสนอของคณะกรรมการ
มาตรา ๖ ในกรณีมีเหตุจําเป็นรัฐมนตรีโดยคําแนะนําของคณะกรรมการจะประกาศให้โรงเรียนใดได้รับยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ในเรื่องใดก็ได้
มาตรา ๗ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอํานาจแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่กับออกกฎกระทรวงกําหนดอัตราค่าธรรมเนียมไม่เกินอัตราท้ายพระราชบัญญัตินี้และกําหนดกิจการอื่นตามพระราชบัญญัตินี้
หมวด ๕
บทกําหนดโทษ
มาตรา ๑๓๐ ผู้ใดจัดตั้งโรงเรียนในระบบโดยไม่ได้รับใบอนุญาตตามมาตรา ๑๘ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา ๑๓๑ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๙ วรรคสาม มาตรา ๒๖ วรรคหนึ่ง หรือมาตรา
๒๘ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
มาตรา ๑๓๒ โรงเรียนในระบบใดจัดการเรียนการสอนผิดไปจากรายละเอียดที่ระบุไว้ตามมาตรา ๒๐ (๒) หรือเรียกเก็บค่าธรรมเนียมผิดไปจากอัตราที่ระบุไว้ตามมาตรา ๒๐ (๓) หรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๒๐ วรรคสอง ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
มาตรา ๑๓๓ โรงเรียนในระบบใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๒๙ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองหมื่นบาท
มาตรา ๑๓๔ ผู้รับใบอนุญาตผู้ใดไม่แต่งตั้งผู้อํานวยการหรือไม่แจ้งตามมาตรา ๓๗ วรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองหมื่นบาท
มาตรา ๑๓๕ ผู้รับใบอนุญาตจัดตั้งโรงเรียนในระบบผู้ใดแต่งตั้งผู้ไม่มีคุณสมบัติตามมาตรา ๓๗ วรรคสอง เป็นผู้อํานวยการ หรือแต่งตั้งผู้ไม่มีคุณสมบัติตามมาตรา ๓๘ วรรคสอง เป็นรองผู้อํานวยการหรือยินยอมให้ผู้ไม่ได้รับแต่งตั้งเป็นผู้อํานวยการหรือรองผู้อํานวยการปฏิบัติหน้าที่ผู้อํานวยการหรือรองผู้อํานวยการแล้วแต่กรณีต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา ๑๓๖ ผู้อํานวยการผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๓๙ (๔) หรือ (๕) ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองหมื่นบาท
มาตรา ๑๓๗ ผู้ใดปลอมเอกสารหลักฐานตามมาตรา ๓๙ (๔) หรือ (๕) ขึ้นทั้งฉบับหรือแต่ส่วนหนึ่งส่วนใดเติมหรือตัดทอนข้อความ หรือแก้ไขด้วยประการใดๆ ในเอกสารหลักฐานดังกล่าวหรือประทับตราปลอมหรือลงลายมือชื่อปลอมในเอกสารหลักฐานนั้น หรือทําหรือให้คํารับรองเอกสารหลักฐานดังกล่าวเป็นเท็จ ทั้งนี้โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่นหรือประชาชนถ้าได้กระทําเพื่อให้ผู้หนึ่งผู้ใดหลงเชื่อว่าเป็นเอกสารหลักฐานที่แท้จริง ต้องระวางโทษจําคุกตั้งแต่หกเดือนถึงห้าปีหรือปรับตั้งแต่หนึ่งหมื่นบาทถึงหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับในกรณีที่ผู้กระทําความผิดตามวรรคหนึ่งเป็นผู้อํานวยการผู้กระทําต้องระวางโทษเป็นสองเท่าของโทษที่กําหนดไว้ตามวรรคหนึ่งผู้ใดใช้หรืออ้างเอกสารหลักฐานที่ตนรู้อยู่แล้วว่าเกิดจากการกระทําความผิดตามวรรคหนึ่งต้องระวางโทษดังที่บัญญัติไว้ในวรรคหนึ่งถ้าผู้กระทําความผิดตามวรรคหนึ่งเป็นผู้ใช้หรืออ้างเอกสารหลักฐานอันเป็นความผิดตามวรรคสามด้วยให้ลงโทษตามวรรคสามแต่กระทงเดียว
มาตรา ๑๓๘ โรงเรียนในระบบใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๔๒ วรรคหนึ่ง หรือไม่จัดทําเอกสารเป็นภาษาไทยตามมาตรา ๔๓ วรรคหนึ่ง หรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๔๓ วรรคสอง หรือไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่คณะกรรมการกําหนดตามมาตรา ๔๓ วรรคสาม ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท
มาตรา ๑๓๙ ผู้จัดการผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๔๖ วรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองหมื่นบาท
มาตรา ๑๔๐ โรงเรียนในระบบใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๔๖ วรรคสอง ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองหมื่นบาท
มาตรา ๑๔๑ ผู้รับใบอนุญาต ผู้อํานวยการผู้จัดการครูหรือบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๘๗ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา ๑๔๒ โรงเรียนในระบบใดฝ่าฝืนมาตรา ๘๘ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
มาตรา ๑๔๓ โรงเรียนในระบบใดฝ่าฝืนมาตรา ๘๙ หรือผู้อํานวยการผู้ใดไม่แจ้งให้ผู้
อนุญาตทราบตามมาตรา ๙๒ วรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
มาตรา ๑๔๔ ผูู้รับใบอนุญาตผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคําสั่งของผู้อนุญาตตามมาตรา ๙๑ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
มาตรา ๑๔๕ ผู้รับใบอนุญาต ผู้อํานวยการผู้จัดการครูบุคลากรทางการศึกษา เจ้าหน้าที่
หรือผู้ปฏิบัติงานอื่นของโรงเรียนในระบบผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๙๘ วรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
มาตรา ๑๔๖ ผู้รับใบอนุญาต ผู้อํานวยการ หรือผู้จัดการผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๙๘ วรรคสอง มาตรา ๑๑๖ วรรคหนึ่ง หรือวรรคสอง ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาทและปรับอีกวันละห้าพันบาทตลอดระยะเวลาที่ยังฝ่าฝืน
มาตรา ๑๔๗ ผู้ใดจัดตั้งโรงเรียนนอกระบบโดยไม่ได้รับใบอนุญาตตามมาตรา ๑๒๐ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา ๑๔๘ โรงเรียนนอกระบบใดจัดการเรียนการสอนผิดไปจากรายละเอียดที่ระบุไว้
ตามมาตรา ๑๒๑ (๓) หรือเรียกเก็บค่าธรรมเนียมผิดไปจากหลักเกณฑ์ที่ระบุไว้ตามมาตรา ๑๒๑(๔) หรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๒๑ วรรคสอง ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
มาตรา ๑๔๙ ผู้รับใบอนุญาตผู้ใดไม่แต่งตั้งผู้บริหารตามมาตรา ๑๒๒ วรรคหนึ่ง หรือแต่งตั้งผู้ไม่มีคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๑๒๒ วรรคสอง หรือยินยอมให้ผู้ไม่ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้บริหารปฏิบัติหน้าที่ผู้บริหารแล้วแต่กรณีต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
มาตรา ๑๕๐ โรงเรียนนอกระบบใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๒๓ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท
มาตรา ๑๕๑ ผู้บริหารผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๒๔ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองหมื่นบาท
มาตรา ๑๕๒ ผู้ใดขัดขวาง ไม่ปฏิบัติตามคําสั่ง หรือไม่อํานวยความสะดวกแก่พนักงานเจ้าหน้าที่หรือกรรมการควบคุมโรงเรียนซึ่งปฏิบัติการตามมาตรา ๑๒๘ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา ๑๕๓ ในกรณีที่ผู้รับใบอนุญาตเป็นนิติบุคคลกระทําความผิดและถูกลงโทษตามพระราชบัญญัตินี้กรรมการหรือผู้จัดการหรือผู้รับผิดชอบในการดําเนินการของนิติบุคคลนั้นต้องรับโทษจําคุกหรือปรับ หรือทั้งจําทั้งปรับตามที่กฎหมายกําหนดสําหรับความผิดนั้นๆ ด้วย เว้นแต่
จะพิสูจน์ได้ว่าตนมิได้มีส่วนในการกระทําความผิดของนิติบุคคลนั้น
มาตรา ๑๕๔ บรรดาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ที่มีโทษปรับสถานเดียวให้ผู้อนุญาตมอํานาจเปรียบเทียบได้
เมื่อผู้อนุญาตได้ทําการเปรียบเทียบกรณีใดและผู้ต้องหาได้ชําระค่าปรับตามคําเปรียบเทียบ
ภายในสามสิบวันแล้วให้คดีนั้นเป็นอันเลิกกัน
มาตรา ๒๑ ให้โรงเรียนในระบบที่ได้ส่งเงินเข้ากองทุนส่งเสริมโรงเรียนในระบบอยู่ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ได้รับเงินคืนเมื่อได้หักหนี้สินที่โรงเรียนในระบบดังกล่าวค้างชําระกองทุนแล้วให้คืนแก่โรงเรียนนั้น
มาตรา ๒๓ เพื่อประโยชน์ในการสงเคราะห์แก่ผู้อํานวยการ ครู และบุคลากรทางการศึกษาในกรณีที่โรงเรียนในระบบใดไม่เคยส่งเงินสมทบกองทุนสงเคราะห์นับตั้งแต่วันที่พระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ มีผลใช้บังคับ โรงเรียนในระบบนั้นอาจยื่นคําขอต่อรัฐมนตรีเพื่อใช้อํานาจตามมาตรา ๖ แห่งพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ ภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับ เพื่อยกเว้นการดําเนินการตามมาตรา ๗๔ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ ก็ได้
มาตรา ๒๔ ให้ผู้ปฏิบัติงานที่มิใช่ครูใหญ่หรือผู้อํานวยการ หรือครูของโรงเรียนนานาชาติ
ซ่ึงเป็นโรงเรียนในระบบตามพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ ซึ่งเคยเป็นผู้ประกันตนและส่งเงินสมทบกองทุนประกันสังคมตามกฎหมายว่าด้วยการประกันสังคมมาก่อนวันที่ ๑๒ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๑ ดําเนินการส่งเงินสมทบกองทุนประกันสังคมต่อไปนับตั้งแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับ โดยให้นับระยะเวลาในการส่งเงินสมทบต่อเนื่องกับระยะเวลาที่ได้ส่งมาแล้ว และให้มีสิทธิตามที่กฎหมายว่าด้วยการประกันสังคมกําหนดให้ผู้ปฏิบัติงานที่มิใช่ผู้อํานวยการ ครู หรือบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนในระบบตามพระราชบัญญัตินี้ ซึ่งเคยเป็นผู้ประกันตนและส่งเงินสมทบกองทุนประกันสังคมตามกฎหมายว่าด้วยการประกันสังคมมากอนว ่ ันที่ ๑๒ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๑ ดําเนินการส่งเงินสมทบกองทุนประกันสังคมต่อไปนับตั้งแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับ โดยให้นับระยะเวลาในการส่งเงินสมทบต่อเนื่องกับระยะเวลาที่ได้ส่งมาแล้ว และให้มีสิทธิตามกฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม
มาตรา ๒๕ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
ผูู้รับสนองพระบรมราชโองการพลเอก สุรยุทธ์จุลานนท์นายกรัฐมนตรี
มาตรา ๒๒ ในกรณีที่โรงเรียนในระบบใดแสดงได้ว่าสามารถจัดสวัสดิการและสิทธิประโยชน์ให้แก่ผู้อํานวยการ ครู และบุคลากรทางการศึกษาที่ประกันความเป็นธรรมหรือมีมาตรฐานที่สูงกว่าสวัสดิการและสิทธิประโยชน์ของกองทุนสงเคราะห์ โรงเรียนในระบบนั้นอาจยื่นคําขอต่อรัฐมนตรีเพื่อใช้
อํานาจตามมาตรา ๖ แห่งพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ ภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับ เพื่อให้กิจการของโรงเรียนในระบบในส่วนที่เกี่ยวกับการสงเคราะห์แก่ผู้อํานวยการ ครู และบุคลากรทางการศึกษาไม่ต้องอยู่ภายใต้บังคับของกองทุนสงเคราะห์ก็ได้
บทเฉพาะกาล
มาตรา ๑๕๕ ให้โอนบรรดากิจการ ทรัพย์สิน หนี้สิน สิทธิภาระผูกพันทั้งปวง เงินและรายได้ของเงินทุนหมุนเวียนเพื่อวิทยาคารสงเคราะห์สําหรับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามภาคใต้ในสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยเงินทนหมุนเวียนเพื่อวิทยาคารสงเคราะห์สําหรับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามภาคใต้พ.ศ. ๒๕๓๒ และเงินทุนหมนเวียนเพื่อพัฒนาการศึกษาโรงเรียนเอกชนในสํานกงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการตามระเบียบกระทรวงศึกษาธการว่าด้วยเงินทุนหมุนเว ุ ยนเพ ี ื่อพัฒนาการศึกษาโรงเรียนเอกชน พ.ศ๒๕๔๕ ไปเปนของกองท ุนสงเสริมโรงเรียนในระบบตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๑๕๖ ให้โอนบรรดากิจการ ทรัพย์สิน หนี้สิน สิทธิภาระผูกพันทั้งปวง เงนและรายได้ของกองทุนสงเคราะห์ครูใหญ่และครูโรงเรียนเอกชนที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๒๕ ไปเปนของกองทุนสงเคราะห์ตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๑๕๗ ให้ผู้ซึ่งดํารงตําแหน่งในคณะกรรมการการศึกษาเอกชนและคณะกรรมการคุ้มครองการทํางานตามพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๒๕ อยู่ในวันทพระราชบัญญัตินี้ประกาศในราชกิจจานเบกษา ุ ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปจนกว่าจะมีการแต่งตั้งคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน และคณะกรรมการคุ้มครองการทํางานตามพระราชบัญญัตินี้ทั้งนี้ต้องไม่เกินหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
มาตรา ๑๕๘ ให้ผู้ซึ่งดํารงตําแหน่งในคณะกรรมการควบคุมโรงเรียนตามพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๒๕ อยู่ในวันทั ี่พระราชบัญญัตินี้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปจนกว่าผู้อนุญาตจะมีคําสั่งใหเพิกถอนใบอนุญาตหรือให้เลิกการควบคุม
มาตรา ๑๕๙ ให้โรงเรียนทจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๒๕ ซึ่งมีอยู่ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ประกาศในราชกิจจานเบกษา ุ เป็นโรงเรียนในระบบหรือโรงเรียนนอกระบบแล้วแต่กรณีตามพระราชบัญญัตินี้และให้ถือว่าผู้รับใบอนญาตเป็นผู้แทนของนิติบุคคลตามพระราชบญญั ัตินี้ ทั้งนี้ให้ผู้รับใบอนญาตดำเนินการจัดทําตราสารจัดตั้งของโรงเรียนในระบบตามมาตรา ๑๘ วรรคสอง ให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันและดําเนินการให้มีคณะกรรมการบริหารตามมาตรา ๓๐ ภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับผู้รับใบอนุญาตจะต้องดําเนนการเกี่ยวกับที่ดินและทรัพย์สินที่เเกี่ยวกับการจัดการศึกษาของโรงเรียนในระบบอย่างใดอยางหนึ่งดังนี้
(๑) โอนที่ดินเงินและทรัพย์สินอื่นๆ แก่โรงเรียนให้เพยงพอในการดำเนินการเรียนการสอนตามเกณฑ์มาตรฐานขั้นต่ำที่กําหนดไว้สําหรับหลักสูตรที่เปิดทําการสอน และตามที่ได้รับอนุญาตตามบัญชีทรัพย์สินที่ผู้รับใบอนุญาตจัดทําขึ้นโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ เว้นแต่มีเหตุจำเป็นและผู้อนุญาต อนุญาตให้ขยายเวลาออกไปตามควรแก่กรณีทั้งนี้จะต้องไม่เกินหนึ่งปึหรือ
(๒) ทําหนังสือส่งมอบการครอบครองและยินยอมให้ใช้ที่ดินและสิ่งก่อสร้างตามบัญชีที่ผู้รับใบอนุญาตจัดทําขึ้นใหแก่โรงเรียนเเพื่อใช้ในในการดําเนินกิจการโรงเรียนต่อไปโดยมีเงื่อนไขว่าผู้รับใบอนุญาตจะต้องไม่กระทำการอันใดอันเป็นการเพิ่มภาระแก่ที่ดินและอสังหาริมทรัพย์ในที่ดินเกินกว่าที่เป็นอยู่ แล้วแจ้งให้ผู้อนุญาตทราบเพื่อแจ้งไปยังสำนักงานที่ดินที่โรงเรียนตั้งอยู่เพื่อแจ้งไปยังสํานักงานที่ดินที่เป็นที่ตั้งของโรงเรียนอยู่เพื่อให้เจ้าพนกงานที่ดินรับทราบและแจ้งให้แก่ผู้ที่จะมาทํานิติกรรมเกี่ยวกับที่ดินนั้นไดำรับทราบถึงการมีสิทธิในการใช้ที่ดินและอสังหาริมทรัพย์ในที่ดินที่เป็นที่ตั้งของโรงเรียนภายในเวลาหนึ่งนับแต่วันทั ี่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับในกรณีที่มีหนี้สินหรือภาระผูกพันอยู่กับทรัพย์ทรัพย์สินที่มอบสิทธิการครอบครองให้แก่โรงเรียนตาม (๒) ซึ่งผู้รับใบอนุญาตแจ้งว่าเป็นหนสินที่เกิดจากหรือเกี่ยวกับการดําเนินงานของโรงเรียนให้โรงเรียนรับโอนมาเฉพาะหนี้สินที่เกิดจากการดําเนินงานของโรงเรียนโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหาร แล้วใหแจ้งผู้อนญาตทราบภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับในกรณีที่ผู้รับใบอนุญาตไม่ปฏิบัติตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสองแล้วแต่กรณี ให้ผู้อนุญาตสั่งเพิกถอนใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนโดยแจ้งเป็นหนังสือให้ผู้ถูกเพิกถอนทราบและให้นำความในมาตรา ๙๘ มาตรา ๙๙ และมาตรา ๑๐๐ มาใช้บังคับโดยอนุโลมการดําเนนการตามมาตรานี้ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์วธิีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการกําหนด
มาตรา ๒๐ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๑๕๙ แห่งพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“มาตรา ๑๕๙ ให้โรงเรียนที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๒๕ ซึ่งมีอยู่ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นโรงเรียนในระบบหรือโรงเรียนนอกระบบแล้วแต่กรณี ตามพระราชบัญญัตินี้ และให้ถือว่าผู้รับใบอนุญาตเป็นผู้แทนนิติบุคคลและได้รับยกเว้นไม่ต้องโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในที่ดินให้แก่โรงเรียนในระบบ แต่ผู้รับใบอนุญาตต้องดําเนินการจัดทําตราสารจัดตั้งและรายละเอียดเกี่ยวกับกิจการของโรงเรียนในระบบตามมาตรา ๑๘ วรรคสอง และดําเนินการให้มีคณะกรรมการบริหารตามมาตรา ๓๐
ในกรณีที่ผู้รับใบอนุญาตจัดตั้งโรงเรียนซึ่งเป็นนิติบุคคลอยู่ก่อนวันที่พระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ ใช้บังคับ ยังมิได้ดําเนินการจัดทําตราสารจัดตั้งและรายละเอียดเกี่ยวกับกิจการของโรงเรียนในระบบตามมาตรา ๑๘ วรรคสอง ให้ใช้เอกสารจัดตั้งนิติบุคคลที่มีรายละเอียดเกี่ยวกับการบริหารกิจการโรงเรียนเป็นตราสารจัดตั้งและรายละเอียดเกี่ยวกับกิจการของโรงเรียนในระบบไปพลางก่อนจนกว่าจะมีการจัดทําตราสารจัดตั้งและรายละเอียดเกี่ยวกับกิจการของโรงเรียนในระบบตามพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐
ในกรณีที่ผู้รับใบอนุญาตจัดตั้งโรงเรียนนานาชาติซึ่งเป็นนิติบุคคลอยู่ก่อนวันที่พระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ ใช้บังคับ ยังมิได้ดําเนินการจัดทําตราสารจัดตั้งและรายละเอียดเกี่ยวกับิจการของโรงเรียนในระบบตามมาตรา ๑๘ วรรคสอง และยังมิได้ดําเนินการให้มีคณะกรรมการบริหารตามมาตรา ๓๐ ให้ใช้เอกสารจัดตั้งนิติบุคคลที่มีรายละเอียดเกี่ยวกับการบริหารกิจการโรงเรียนเป็นตราสารจัดตั้งและรายละเอียดเกี่ยวกับกิจการของโรงเรียนในระบบรวมทั้งให้คณะกรรมการบริหารของนิติบุคคลดังกล่าวเป็นคณะกรรมการบริหารตามพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๕๐ ไปพลางก่อนจนกว่าจะมีการจัดทําตราสารจัดตั้งและรายละเอียดเกี่ยวกับกิจการของโรงเรียนในระบบ และแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๑๖๐ ในระหว่างที่ยังไม่มีคณะกรรมการบริหารตามมาตรา ๓๐ ให้ผู้ซึ่งดํารงตําแหน่งในคณะกรรมการอํานวยการตามพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๒๕ อยู่ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ปฏบิัติหน้าที่คณะกรรมการบริหารไปพลางก่อนจนกว่าจะมีการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๑๖๑ ในระหว่างที่ยังไม่มีคณะกรรมการกองทุนสงเคราะห์ตามมาตรา ๖๑ ให้คณะกรรมการการศึกษาเอกชนตามมาตรา ๑๕๗ ปฏิบัติหน้าที่คณะกรรมการกองทุนสงเคราะห์จนกว่าจะมีคณะกรรมการกองทุนสงเคราะห์ตามพระราชบัญญัตินี้ ซึ่งต้องไม่เกินหนึ่งปีนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้คณะกรรมการการศึกษาเอกชนตามมาตรา ๑๕๗ แต่งตั้งข้าราชการของกระทรวงศกษาธิการคนหนึ่งปฏิบัติหน้าที่ผู้อํานวยการกองทุนสงเคราะห์ไปพลางก่อนจนกว่าจะมีการแต่งตั้งผู้อานวยการกองทุนสงเคราะห์ตามพระราชบัญญัตินี้ ซึ่งต้องไม่เกินหนึ่งร้อยแปดสิบวนนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
มาตรา ๑๖๒ ให้ผู้ซึ่งปฏิบัติหน้าที่เป็นผู้ ูจัดการ ครูใหญ่ และครูตามพระราชบัญญัตโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๒๕ อยู่ในวันที่พระราชบญญัญัตินี้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ปฏิบัติหน้าที่ผู้จัดการ ผู้อํานวยการ ผู้บริหาร ครูผู้สอน หรือบุคลากรทางการศึกษา แล้วแต่กรณีตามพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ ให้ผู้อํานวยการ และครู ดําเนินการเพื่อขอรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพควบคมตามกฎหมายว่าด้วยสภาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
มาตรา ๑๖๓ ให้ครูใหญ่และครูซึ่งมีสิทธิได้รับเงินทุนเลี้ยงชีพประเภท ๒ เมื่อออกจากงานตามพระราชบญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๒๕ ยังคงมีสิทธิได้รับเงินทุนเลี้ยงชีพประเภท ๒ และได้รับสิทธิประโยชน์เช่นเดิมต่อไปตามพระราชบัญญัตินี
มาตรา ๑๖๔ ผู้ซึ่งขอรับใบอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับให้ดําเนินการต่อไปจนกว่าจะแล้วเสร็จ โดยให้ถือว่าเป็นการดำเนินการตามพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ต้องดําเนินการให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
มาตรา ๑๖๕ บรรดาคําร้องใดที่ได้ยื่นไว้ก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับให้ดําเนินการต่อไปตามพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๒๕ จนกว่าจะแล้วเสร็จ ทั้งนี้ ต้องดําเนินการให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับตั้งแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
มาตรา ๑๖๖ ในระหว่างที่ยังมิได้ออกกฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ให้นํากฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศที่ออกตามพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. ๒๕๒๕ มาใชบังคับโดยอนโลม ุ เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับพระราชบัญญัตินี
6220160428 นางสาวสุรัชดา มณีอร่าม เลขที่ 4