Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วัฒนธรรมกับภาษาไทย (:smiley:วัฒนธรรมทางภาษา :smiley: (มีการรับภาษาต่างประเ…
วัฒนธรรมกับภาษาไทย
:smiley:
วัฒนธรรมทางภาษา
:smiley:
มีการรับภาษาต่างประเทศเข้ามาใช้ในภาษาไทย
นิยมใช้คำสัมผัส
มีลักษณะนาม
มีคำที่เกี่ยวกับคำศัพท์วิชาการต่างๆ
มีระดับการใช้ภาษาในสังคม
มีภาษามาตรฐานเพื่อใช้สื่อสารทางราชการ
เป็นสิ่งที่แสดงถึงความเป็นชาติ
มีภาษาถิ่นใช้สื่อสารกันแต่ละท้องถิ่น
🤗
ประเภทของวัฒนธรรม
🤗
วัฒนธรรมทางภาษาและวรรณกรรม
วัฒนธรรมทางวัตถุ
วัฒนธรรมทางจิตใจ
วัฒนธรรมทางจารีตประเพณี
วัฒนธรรมทางสุนทรียะ
ครูกับการใช้ภาษาไทย
😯
ภูมิปัญญาไทยด้านการใช้ภาษา
😯
การใช้สำนวนภาษา
การหลากคำ
การปรับเปลี่ยนเสียงให้ง่ายขึ้น
การสร้างคำหลายรูปแบบ
การสร้างปริศนาคำนาย
การใช้คำคล้องจอง
การเปรียบเทียบคำจากสิ่งรอบตัว
การใช้วรรณยุกต์
😚
การใช้ภาษาที่ถูกต้อง
😚
ใช้คำราชาศัพท์ถูกต้อง
ออกเสียงวรรณยุกต์ถูกต้อง
ใช้คำลักษณะนามถูกต้อง
ออกเสียงคำควบกล้ำ ร ล ฤ ชัดเจน
ใช้ภาษาไทยให้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล
ออกเสียงคำต่างๆ ถูกต้อง
คำพ้องรูป คำพ้องเสียง
คำอักษรนำ คำอักษรควบ
🤓
การใช้ภาษาไทยสำหรับการจัดการเรียนรู้
🤓
การอ่าน
เป็นทักษะที่ใช้ในการรับสาร
การอ่านออกเสียงหรืออ่านทำนองเสนาะ เป็นการส่งสาร
การเขียน
เพื่อแนะนำ
เพื่อวัดประเมินผล
เพื่อบันทึกรายงานผล
การพูด
สร้างความรัก
แสดงความห่วงใย หวังดี
สร้างความเข้าใจในบทเรียน
การฟัง ดู
เพื่อรับทราบความต้องการ ความคิดเห็นหรือปัญหา
เพื่อประเมินผลการเรียนรู้
เพื่อรับรู้ข้อมูล
👩
จิตสำนึกของครูกับการใช้ภาษาไทย
👩
ถ้าไม่แน่ใจต้องตรวจสอบ ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
ต้องเสริมสร้างความสำนึกในการใช้ภาษาไทยที่ถูกต้องแก่ผู้เรียน
ต้องใช้ภาษาไทยถูกต้องเสมอ
😔
การใช้ภาษาไทยในการสอน
😔
ด้านไวยากรณ์หรือหลักภาษา
การประกอบรูปคำ
วจีวิภาค คือการจำแนกถ้อยคำและหน้าที่ของคำ
วากยสัมพันธ์ คือการแยกความออกเป็นประโยค การเกี่ยวข้องของคำในประโยค
อักขรวิธี คือวิธีเขียนและอ่านหนังสือให้ถูกต้อง
ฉันทลักษณ์ คือ ลักษณะของคำประพันธ์
ปัญหา
ผู้ใช้ขาดความรู้ความเข้าใจ
ผู้ใช้ขาดความใส่ใจ ขาดความสังเกต
ผู้ใช้ขาดความแม่นยำ ความชำนาญการใช้ประโยค
ผู้ใช้ขาดการตรวจสอบความถูกต้อง ที่มาหรือเหตุผล
ด้านการสื่อสาร
ปัญหาด้านการพูด
พูดไม่มีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน
พูดวกวน สับสน ไม่เป็นไปตามลำดับ
พูดโดยขาดความรู้ ไม่ได้สาระ/ผิดพลาด
พูดออกเสียงไม่ชัดเจน ทำให้สับสน
ปัญหาด้านการอ่าน
อ่านแล้วไม่เข้าใจ ตีความไม่ถูกต้อง
อ่านแล้วไม่รู้เรื่อง
ออกเสียงไม่ชัดเจน ทำให้สื่อความผิด
อ่านแล้วไม่สามารถประเมินคุณค่าไม่ได้ วิจารณ์ไม่ได้
ด้านการเขียน
เว้นวรรคตอนบกพร่อง
เขียนโดยวางคำขยายผิดที่
เขียนผิดเพราะขาดความระมัดระวัง
เขียนโดยใช้คำฟุ่มเฟือย
ปัญหาด้านการฟัง
ฟังแล้วจับใจความไม่ได้หรือได้เพียงบางส่วน
ฟังไม่ชัดเจน ฟังไม่รู้เรื่อง
ฟังแล้วเข้าใจเจตนาผิด เกิดความไม่พอใจ
ฟังแล้วแยกไม่ได้ว่าสิ่งใดเป็นข้อเท็จจริงหรือความคิดเห็น
ปัญหาด้านค่านิยม
เห็นว่าหลักภาษาไทยเป็นเรื่องยาก ซับซ้อน
นิยมใช้คำทับศัพท์ภาษาต่างประเทศ คิดว่าถูกต้องกว่า
นิยมใช้สำนวนภาษาแปลกๆ
ไม่นิยมใช้เลขไทย
😎
ภาษาไทยสำหรับการจัดการเรียนรู้
😎
ประโยคและการใช้ประโยค
ประโยคที่ดี
ถูกต้องตามหลักภาษา
มีความกะทัดรัด
มีความชัดเจน
ประโยคที่ถูกต้องตามหลักภาษา
ไม่ควรเรียงคำผิดลำดับ
ไม่ควรละหรือใช้คำลักษณะนามผิดเพราะทำให้เข้าใจผิดได้
ไม่ตัดคำที่จำเป็น
ไม่ควรเขียนประโยคที่มีใจความไม่ครบถ้วน
ไม่ใช้คำเชื่อมผิด
ระดับของภาษา
คำและการเลือกใช้คำ
การใช้คำให้ถูกความหมาย
การใช้ลูกคำ
คำที่มีความหมายนัยประหวัด
การใช้คำให้เหมาะกับบุคคล
คำที่มีความหมายอุปมา
การใช้คำให้เหมาะสมกับเรื่องราวสถานการณ์ โอกาส
คำที่มีความหมายตรง
การเลือกใช้คำหลากหลายในสถานการณ์เดียวกัน
นางสาวมณณฎา ปานเพชร รหัสนิสิต ๖๑๒๐๖๐๓๑๙๑