Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Pretrem Labor & Breech Presentation (Breech Presentation (ปัจจัยเสี่ยง…
Pretrem Labor & Breech Presentation
ข้อมูลผู้ป่วย
หญิงตั้งครรภ์ อายุ 32 ปี G4P2-0-1-2 GA 35 Wks By U/S
ฝากครรภ์ครั้งแรกที่กัมพูชา อายุครรภ์ 26 wks ฝากครรภ์ทั้งหมด 6 ครั้ง
ประวัติการตั้งครรภ์
G1 Full term Normal Labor เพศหญิง แข็งแรงดี
G2 Spontaneous Abortion
G3 Full Term Normal Labor เพศหญิง แข็งแรงดี
ปฏิเสธประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว
อาการสำคัญที่มาโรงพยาบาล : มีน้ำใสไหลจากช่องคลอด 1 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
LMP: 23/06/62
EDC: 29/03/63
Preterm Labor
การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
สาเหตุ
การหลั่งสาร Cortisol ออกมาจากต่อมหมวกไตของสตรีตั้งครรภ์ และทารกมากขึ้น ส่งผลให้รกสร้างสาร Prostaglandin มากขึ้น Cortisol ที่มากขึ้นจะไปกระตุ้นเนื้อรกให้สร้างสาร Corticotropin releasing hormone (CRH) จะไปกระตุ้นต่อมหมวกไตให้สร้างสารมากขึ้น ทำให้เกิดภาวะเจ็บครรภ์คลอด
สตรีมีความเสี่ยง
พันธุกรรม
มีประวัติคลอดทารกก่อนกำหนดในครอบครัว
เคยมีประวัติแท้งหรือคลอดก่อนกำหนด
เคยมีประวัติแท้งหรือเลือดออกในระหว่างการตั้งครรภ์ในอดีต
มีภาวะครรภ์แฝด
มีประวัติการช่วยการเจริญพันธุ์
มีความผิดปกติของมดลูก
มีภาวะน้ำเดินก่อนกำหนด
ทารกพิการ
มารดาอายุน้อยกว่า 17 ปี หรือมากกว่า 35 ปี
มารดาสูบบุหรี่ และเสพสารเสพติด เช่น โคเคน เฮโรอีน
ชนิด
ภาวะเจ็บครรภ์เตือน (False labor pain)
เจ็บครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 37 สัปดาห์
เจ็บครรภ์ไม่สม่ำเสมอทั้งความแรงและความถี่
นอนพัักหรือเปลี่ยนอิริยาบถอาการเจ็บครรภ์จะหายไป
ภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด (Preterm labor)
ภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนอายุครรภ์ 37 สัปดาห์
มีการหดรัดตัวของมดลูกอย่างสม่ำเสมอ 4 ครั้งใน 20 นาที หรือ 8 ครั้ง ใน 1 ชั่วโมง
มีการเปิดขยายของปากมดลูกมากกว่า 1 เซนติเมตร
ปากมดลูกบางตัวตั้งแต่ร้อยละ 80 % ขึ้นไป
ภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดคุกคาม (Thereatened preterm labor)
เจ็บครรภ์คลอดก่อนกำอายุครรภ์ 37 สัปดาห์
มดลูกหดรัดตัวสม่ำเสมออย่างน้อย 1 ครั้ง ทุก 10 นาที
ไม่มีการเปลี่ยนแปลงของปากมดลูก
การรักษา
การพักผ่อน
การให้สารน้ำและการนอนหลับ
การให้ยาระงับการหดรัดตัวของมดลูก
ยากลุ่ม Beta-adrenergic
ปล่อยแคลเซียมออกจากเซลล์ทำให้มีการคลายตัวของกล้ามเนื้อ ใช้ในการระงับการหดรัดตัวของมดลูก
Bricranyl
Ritrodrine hydrochloride
Ventolin
Magnesium sulfate
การให้ยาปฏิชีวนะ
การให้ยากลุ่ม Corticosteroid : กระตุ้นการสร้างและหลั่งสาร Surfactant จากเซลล์ เข้าสู่ถุงลมและเร่งการเจริญของโครงสร้างปอด
Betamethasone
Dexamethasone
6mg IM ทุก 12 ชั่วโมง 4 dose
Breech Presentation
แนวทางในการผ่าตัดทำคลอดทารกท่าก้น
ข้อบ่งชี้
ครรภ์เดี่ยว ครบกำหนด และยังไม่เข้าสู่ระยะคลอด
ให้โอกาสผู้คลอดกำหนดเลือกทางคลอดเองขณะฝากครรภ์
ทางเลือกที่แนะนำ (recommeneded) ทำ external cephalic version
ทางเลือกที่แนะนำ (recommended) กำหนดนัดผ่าตัดคลอด
ทางเลือกรอง (alternative) วางแผนให้คลอดท่าก้นทางช่องคลอด กรณีที่มีความพร้อม
กรณีครรภ์ครบกำหนดที่มาถึงโรงพยาบาลขณะที่มีความก้าวหน้าของการคลอดแล้ว หรือรายที่เคยวางแผนไว้ให้คลอดทางช่องคลอดควรพิจารณาผ่าตัดคลอดในกรณีที่
ทารกตัวโต คะเนน้ำหนักทารกตั้งแต่ 3,500 กรัมขึ้นไป
ขนาดหรือรูปร่างช่องเชิงกรานมารดาผิดปกติ
ทารกมีการเงยของศีรษะ
ท่าก้นชนิด footling
การดำเนินการคลอดผิดปกติในระยะ active phase
ความหมาย
เด็กในครรภ์มารดาที่มีส่วนนำเป็นก้นหรือส่วนใดส่วนหนึ่งของขาหรือร่วมกันอยู่ทางส่วนล่างของมดลูก และศีรษะอยู่ทางยอดมดลูก
สาเหตุ
เด็กในครรภ์มีการเคลื่อนไหวได้มากกว่ากว่าปกติ เช่น มีน้ำคร่ำมากกว่าปกติ หรือมารดามีหน้าท้องหย่อนในการตั้งครรภ์หลังๆ
มดลูกมีรูปร่างผิดปกติ
ส่วนหัวเด็กไม่สามารถปรับเข้ากับอุ้งเชิงกรานได้เช่น เด็กมีภาวะ Hydrocephalus หรือรกเกาะต่ำ
ทารกแฝด
อาการ
คุณแม่อาจจะมีอาการเจ็บบริเวณชายโครงเนื่องจากศีรษะเด็กกดชายโครง
มีก้อนแข็งซึ่งคือศีรษะเด็กลอยไปมาบริเวณลิ้นปี่
รู้สึกมีก้อนนุ่มๆบริเวณท้องน้อย(คือขา ก้น)
หัวใจเด็กอยู่เหนือสะดือ
ประเภททารกท่าก้น
Flank breech พบท่านี้มากที่สุดประมาณ 85% ทารกเอาก้นเป็นส่วนนำ งอข้อสะโพก แต่เหยียดข้อเข่า
Complete breech ทารกเอาก้นเป็นส่วนนำ งอข้อสะโพก และงอข้อเข่า
Incomplete breech ข้อสะโพกของทารกด้านใดด้านหนึ่งหรือทั้งสองด้านไม่งอ ทำให้เท้าหรือเข่าอยู่ต่ำกว่าส่วนก้นลงไป หากเอาเท้าเหยียดลงไปต่ำสุดเรียกว่า Footling breech อาจเหยียดทั้ง 2 ขา หรือเพียง 1 ขาก็ได้
ปัจจัยเสี่ยง
มารดามีเนื้องอกมดลูก หรือมีความผิดปกติของมดลูก ทำให้ทารกไม่สามารถหมุนเป็นท่าศีรษะได้มปกติUterine anomalies
มีภาวะรกเกาะต่ำ (Placenta previa) จึงขัดขวางการหมุนตัวของทารก
การตั้งครรภ์แฝด
มีความผิดปกติของช่องเชิงกราน
คุณแม่สูบบุหรี่
ความผิดปกติของรูปร่างของทารก Fetal malformation (เช่นเด็กหัวโต hydrocephalus) เช่น ศีรษะโตเกินไป หรือมีเนื้องอกบริเวณส่วนบนหรือส่วนล่างของทารก ทำให้ทารกไม่สามารถหมุนเป็นท่าศีรษะได้มปกติ
ปริมาณน้ำคร่ำมากเกินไป Polyhydramnios ทำให้ทารกหมุนตัวได้มากเกินไป หรือปริมาณน้ำคร่ำน้อยเกิน ไป oligohydramnios ทารกหมุนตัวไม่ได้
ทารกที่อายุครรภ์น้อย (ทารกตัวเล็ก) พบว่าทารกอายุครรภ์ก่อน 28 สัปดาห์ มีโอกาสอยู่ในท่าก้น 22%
ภาวะแทรกซ้อน
มีการกดทับสายสะดือเนื่องจากสายสะดือย้อย หากกดทับนานจะทำให้เด็กขาดออกซิเจน และเสียชีวิตได้
คลอดติดศีรษะเนื่องจากก้นมีขนาดเล็กกว่าศีรษะ ศีรษะไม่มีการปรับรูปร่าง
ทารกได้รับอันตรายจากการคลอดเช่น เส้นประสาทได้รับบาดเจ็บ กระดูกไหปลาล้าหัก
คลอดก่อนกำหนด / น้ำเดินก่อนกำหนด
การดูแล
การคลอดทางช่องคลอด
ปัจจุบันได้รับความนิยมลดลง เนื่องจากข้อมูลที่มีในปัจจุบันพบว่า การคลอดทางช่องคลอดทำให้เด็กทารกได้รับอันตรายมากกว่าการผ่าท้องคลอด การคลอดทางช่องคลอด แบ่งเป็นอีก 3 วิธีในการทำคลอดคือ
ให้ทารกคลอดเองในท่าก้นเลย โดยแพทย์ไม่ต้องช่วย (Spontaneous breech delivery) มักใช้กับเด็กตัวเล็ก โดยแพทย์ไม่ต้องช่วย
แพทย์ช่วยคลอดบางส่วน (Breech assisting delivery)
แพทย์ทำคลอดทั้งหมด (Total breech extraction) ใช้ในกรณีรีบด่วน ฉุกเฉิน เพื่อรีบช่วยชีวิตทารกในครรภ์ โดยแพทย์จะล้วงเข้าจับขาทารก แล้วดึงออกมา
หมุนเปลี่ยนทารกจากท่าก้นให้เป็นท่าศีรษะจากภายนอก ( External cephalic version) และให้คลอดท่าศีรษะ
การคลอดท่าศีรษะจะง่ายกว่า และมีอันตรายต่อทารกน้อยกว่าการคลอดในท่าก้น ซึ่งแพทย์มักจะทำการหมุนเปลี่ยนท่าตอนอายุครรภ์ 36 สำหรับการตั้งครรภ์ครรภ์แรก 37 สัปดาหสำหรับผู้ที่เคยตั้งครรภ์มาก่อน ก่อนที่จะมีอาการเจ็บครรภ์ โรคแทรกซ้อนพบไม่บ่อยได้แก่ รกลอก มดลูกแตก และเลือดออกทั้งแม่และทารกอัตราความสำเร็จประมาณ 30-80%
การผ่าท้องคลอด
แพทย์ส่วนใหญ่จะนิยมใช้วิธีนี้ผ่าตัดคลอดเมื่ออายุครรภ์ครบกำหนด เนื่องจากทำอันตรายต่อทารกน้อยกว่า แต่อย่างไรก็ม การผ่าท้องคลอดจะเป็นอันตรายต่อมารดามากกว่าการคลอดทางช่องคลอด