Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Cesarean Section cesarean section 1 (ข้อบ่งชี้การผ่าคลอด…
Cesarean Section
ข้อมูลมารดา
หญิงตั้งครรภ์ อายุ 28 ปี G2P1001 GA 38 wks by date
LMP : 18 มิถุนายน 2562
EDC : 26 มิถุนายน 2563
ประวัติการตั้งครรภ์
G1 C/S due to Postterm เพศ ชาย น้ำหนัก 3200 กรัม
ข้อบ่งชี้การผ่าคลอด
มีภาวะผิดสัดส่วนระหว่างศีรษะทารกและอุ้งเชิงกราน (Cephalopelvic Disproportion: CPD) ทำให้เด็กไม่สามารถลอดผ่านเชิงกรานแม่ออกมาได้
มีความผิดปกติของรก เช่น รกเกาะต่ำขวางทางออกของทารก (Placenta Previa) หรือรกลอกตัวก่อนกำหนด (Placental Abruption) ทำให้มีการตกเลือดก่อนคลอด
มีภาวะแทรกซ้อนที่ต้องทำให้คลอดโดยเร็ว เช่น สายสะดือย้อย (Umbilical Cord Prolapsed)
ทารกอยู่ในภาวะวิกฤติ เสียงหัวใจลูกเต้นช้าผิดปกติ (Fetal Distress) ภาวะความดันโลหิตสูง ครรภ์เป็นพิษอย่างรุนแรง หรือมีการแตกของมดลูก (Uterine Rupture)
มีการคลอดที่เนิ่นนาน (Prolong of Labor) หรือประสบความล้มเหลวจากการชักนำคลอด (Failure Induction)
ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ เช่น ท่าขวาง (Transverse Lie), ท่าก้น (Breech Presentation) หรือครรภ์แฝด
มารดาเคยผ่าตัดคลอดมาก่อน (Previous Uterine Scare)
เนื่องจาก G1
C/S due to Postterm เพศ ชาย น้ำหนัก 3200 กรัม
ประเภทของการผ่าตัดคลอด
Elective cesarean section คือ การผ่าตัดคลอดที่มีการวางแผนไว้ตั้งแต่ใกล้กำหนดครบคลอด 1-2 สัปดาห์ หรือเริ่มเข้าสู่ระยะคลอด
Emergency cesarean section การผ่าตัดคลอดฉุกเฉิน ทำในกรณีไม่สามารถคลอดทางช่องคลอดได้
ชนิดของการผ่าตัดคลอด
low transverse cesarean section
low transverse cesarean section เป็นการผ่าตัดแนวขวางที่ส่วนล่างของมดลูก
มารดาได้รับการผ่าตัดแบบ low transverse cesarean section
low vertical cesarean section การผ่าตัดตามแนวตั้งที่ส่วนล่างของผนังมดลูก
Classical incision เป็นการผ่าตัดในแนวตั้ง ที่บริเวณส่วนบนของมดลูก ใกล้ๆกับยอดมดลูก
Inverted T- shaped incision ผ่าตัดบริเวณส่วนล่างของมดลูกในแนวขวาง แล้วทำคลอดทารกออกยาก จึงต้องตัดเพิ่มเป็นรูปตัวทีกลับหัว
Cesarean hyterectomy หรือ Porro cesarean section เป็นการผ่าตัดเอาทารกออกทางหน้าท้องตามธรรมดา ร่วมกับผ่าตัดเอามดลูกออกไปในครั้งเดียวกัน
Extraperitoneal cesarean section เป็นการผ่าตัดที่ผนังมดลูกโดยไม่ต้องผ่านเข้าภายในช่องท้อง จะเลาะผ่าน Retzius space เข้าใต้กระเพาะปัสสาวะ เข้าหามดลูกส่วนล่าง
การพยาบาล
ขณะ
เตรียมเครื่องมือผ่าตัด เครื่องมือช่วยเหลือทารก, ทำความสะอาดหน้าท้อง ปูผ้า, จัดท่า trendelenberg, ช่วยเหลือแพทย์, บันทึกคลอด ประเมินร่างกายทารก, ประเมินเลือดที่เสียไป ตรวจนับเครื่องมือ
หลัง
จัดท่านอนหงายราบไม่หนุนหมอน ตะแคงศีรษะจนกว่าจะรู้สึกดี, ประเมินแผลผ่าตัดทางหน้าท้อง, บรรเทาอาการปวด, V/S I/O, ให้สารน้ำ, ช่วยเหลือทำกิจกรรม, กระตุ้น Ambulation
ก่อน
เตรียมด้านจิตใจ, NPO 6-8 hr, Shape&สวน, สวนคาสายปัสสาวะ, G/M Hct UA, ให้สารน้ำ, FHS V/S, เอกสารยินยอม, ถอดเครื่องประดับ ฟันปลอม ล้างสีเล็บ
ภาวะแทรกซ้อน
ขณะทำ
ภาวะแทรกซ้อนจากยาสลบ เช่น กดการหายใจ ความดันโลหิตต่ำ
การบาดเจ็บต่อทารก
การฉีกขาดของแผลผ่าตัดบนตัวมดลูก
บาดเจ็บต่อกระเพาะปัสสาวะและลำไส้
เกิดฉีกขาดของแผลผ่าตัดบนตัวมดลูกจนถึงปากมดลูก
หลังทำ
เกิดการอักเสบของแผลผ่าตัด
มีเลือดออกในช่องท้องภายหลังการทำผ่าตัด
เกิดการอักเสบเยื่อบุโพรงมดลูก
ภาวะ PPH ร่วมกับภาวะ Shock
ภาวะแทรกซ้อนทางวิสัญญี ได้แก่ ท้องอืด
ความหมาย
การผ่าตัดนำเอาทารกออกจากโพรงมดลูกโดยผ่านทางรอยผ่าที่ผนังหน้าท้องและรอยผ่าที่ผนังมดลูก