Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตกเลือดหลังคลอด Postpartum Hemorrhage (การพยาบาลในการป้องกันการเกิดตกเ…
การตกเลือดหลังคลอด
Postpartum Hemorrhage
หมายถึง การเสียเลือดมากกว่าหรือเท่ากับ
:check: 500 มิลลิลิตร จากกระบวนการคลอดปกติ
:check: 1,000 มิลลิลิตร จากการผ่าตัดคลอด
รวมถึงการวินิจฉัยจากความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดง (Hct)ที่ลดลงมากกว่าร้อยละ 10 จากก่อนคลอดและจากอาการแสดงถึงการช็อกจากการเสียเลือด
BP ลดลง 20% ของ base line เดิม
:green_cross: หน้าซีด เวียนศีรษะ ใจสั่นหวิว
BP ลดลง 30% ของ base line เดิม
:green_cross: คลื่นไส้อาเจียน หมดแรง ตัวเย็น
BP ลดลง 10% ของ base line เดิม
:green_cross: ใจสั่น มึนงง ชีพจรเร็ว
ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิด
Sheehan’s syndrome
ภาวะต่อมพิทูอิตารี่ส่วนหน้า (anterior pituitary gland) ขาด เลือดไปเลี้ยง (pituitary necrosis) จำเป็นต้องรักษาด้วยการให้ฮอร์โมนสังเคราะห์ทดแทนไปตลอดชีวิต
โลหิตจางรุนแรง
Hypovolemic shock
ทุพพลภาพ และ เสียชีวิตได้
ชนิดของ
การตกเลือดหลังคลอด
1. การตกเลือดหลังคลอดในระยะแรก (Primary or early postpartum hemorrhage)
หมายถึง การตกเลือดที่เกิดขึ้นตั้งแต่หลังคลอดทันที
(สิ้นสุดระยะ 3/รกคลอดหมด)
จนถึง 24 ชั่วโมง หลังคลอด
2.การตกเลือดหลังคลอดในระยะหลัง (Secondary or late postpartum hemorrhage)
หมายถึง การตกเลือดที่เกิดขึ้นหลังจากระยะ 24 ชั่วโมงจนถึง 6 สัปดาห์หลังคลอด
ความรุนแรงของ
การตกเลือดหลังคลอด
ระดับเล็กน้อย (Mild PPH)
สูญเสียเลือดตั้งแต่ 500 มิลลิลิตรขึ้นไป
ระดับรุนแรง (Severe PPH) สูญเสียเลือดตั้งแต่ 1,000 มิลลิลิตรขึ้นไป
ระดับรุนแรงมาก (Very severe or major PPH) สูญเสียเลือดตั้งแต่ 2,500 มิลลิลิตรขึ้นไป
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยงของ
การตกเลือดหลังคลอด (4T)
3) Tissue คือ การมีเศษรก/เนื้อเยื่อหรือรกค้าง (Retained products of conception)
การเคยผ่าตัดเนื้องอกมดลูกมาก่อน การเคยผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
มารดาอายุมากกว่าหรือเท่ากับ 35 ปีขึ้นไป
ภาวะรกฝังแน่น
การติดเชื้อของรกและน้ำคร่ำ
(Chorioamnionitis and accessory placental lobes)
การคลอดก่อนกำหนด
(Mid-trimester delivery)
4) Thrombin คือ ความผิดปกติของการ
แข็งตัวของเลือด
การมีเลือดออกในขณะตั้งครรภ์หรือมีประวัติตกเลือดหลังคลอด (Massive antepartum hemorrhage or PPH)
ทารกตายในครรภ์
(Retained intrauterinefetal demise)
ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ (Severe preeclampsia)
รกลอกตัวก่อนกำหนด (Placental abruption)
การติดเชื้อ (Sepsis)
ได้รับยาเสตียรอยด์เพื่อรักษาทารกในขณะตั้งครรภ์
มารดาที่มีภาวะซีด
รุนแรงตั้งแต่ก่อนการตั้งครรภ์และไม่ได้รับการแก้ไข
มารดาที่มีความผิดปกติของ
การแข็งตัวของเลือด
2) Trauma คือ การฉีกขาดของช่องทางคลอด (Laceration of the genital tract)
การฉีกขาดของปากมดลูก (Tear cervix)
ช่องคลอด (Tear vaginal)
แผลฝีเย็บ (Tear perineal)
มีเลือดออกใต้ชั้นกล้ามเนื้อ บริเวณช่องทางคลอด (Hematoma)
การตัดแผลฝีเย็บ (Episiotomy,
especially mediolateral)
การคลอดเฉียบพลัน (Rapid
or precipitate of labor)
การใช้สูติศาสตร์หัตถการช่วยคลอด
(Forceps or vacuum)
การคลอดติดไหล่ (Shoulder
dystocia)
ทารกมีส่วนน าที่ไม่ใช่ศีรษะ (Fetal
malpresentation)
ทารกตัวโต (Fetal
macrosomia)
1) Tone คือ
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี (Uterine atony)
กล้ามเนื้อมดลูกยืดขยายมากเกินไป
(Overdistention of uterus)
การตั้งครรภ์แฝด (Twins)
การตั้งครรภ์แฝดน้ำ (Polyhydramnios)
การตั้งครรภ์และการคลอดตั้งแต่
4 ครั้งขึ้นไป (Multiparity)
ทารกตัวโต
(Fetal macrosomia)
การได้รับยากระตุ้นการหดรัด
ตัวของมดลูกเป็นเวลานาน (Prolonged oxytocin use)
การคลอดล่าช้า (Prolonged of labor)
การป้องกัน (Prevention)
(Active Management of Third Stage of Labor: AMTSL)
2) ท าคลอดรกด้วยวิธี controlled
cord traction
3) คลึงมดลูกทันทีหลังรกคลอด
1) ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกทันทีหรือไม่เกิน 1 นาทีหลังทารกคลอด
การพยาบาลในการป้องกันการเกิดตกเลือดหลังคลอด
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก (Uterine contraction) ทุก 30 นาที ในระยะ 2 ชั่วโมงแรกหลัง
รับย้ายจากห้องคลอด
ประเมินปริมาณเลือดที่ออกทางช่องคลอด (Vaginal bleeding)
ประเมินผ้าอนามัยบันทึก ทุก 30 นาที- 1 ชั่วโมง ในระยะ 2 ชั่วโมงแรกหลังรับย้ายจากห้องคลอด
1 แผ่นเต็ม=50 CC
ทุก 4ชั่วโมงในระยะ 24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
ประเมินระดับยอดมดลูก (Fundal height) ทุก 30 นาที
ในระยะ 2 ชั่วโมงแรกหลังรับย้ายจากห้องคลอด
:lock: การคลึงมดลูกให้กลมแข็ง :lock: การให้ยาตามแผนการรักษา
ประเมินระดับ Vital sign ระวังภาวะช็อกจากการขาดเลือด
ให้สารน้ำที่มียากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกอย่างต่อเนื่องใน อัตราหยด 100-120 มิลลิลิตร/ชั่วโมง ต่อไปอีกจนครบ 12-18 ชั่วโมงหลังคลอด
ประเมินกระเพาะปัสสาวะ
และกระตุ้นมารดาให้ปัสสาวะเองทุก 4-6 ชั่วโมง
นำทารกมาเข้าเต้าเพื่อกระตุ้นการดูดนมมารดาโดยเร็วในรายที่ไม่มีข้อห้ามในการให้นมแม่ เพื่อช่วยกระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ดูแลให้รับประทานอาหารและ
พักผ่อนอย่างเพียงพอในระยะ 24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
นศพต.นริศรา นายโรง ชั้นปีที่ 3 เลขที่ 26