Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Male reproductive and Urinary systemsอวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย และ…
Male reproductive and Urinary systemsอวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย และ ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
อวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย
(Male Reproductive)
อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก ได้แก่
ถุงหุ้มอัณฑะ (scrotum) องคชาต (penis)
ถุงหุ้มอัณฑะ (scrotum)/ scrotal sac ถุงอัณฑะเป็นส่วนที่ยื่นออกมาจากส่วนล่างของผนังหน้าท้อง ภายในประกอบด้วย testis, epididymis และส่วนปลายของ spermatic cord โครงสร้างภายในมีเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่แบ่ง testis ออกเป็นสองข้างเรียกว่า septum ผิวหนังของถุงอัณฑะมีลักษณะบาง ย่น และมีสีคล้ํากว่าผิวหนังบริเวณอื่นๆ
ภายในชั้นต่างๆของ scrotum จะมีชั้นของกล้ามเนื้อเรียกว่า dartos และ cremasteric muscleโดยในขณะที่อากาศเย็นพบว่ากล้ามเนื้อนี้จะมีการหดตัวและดึงถุงอัณฑะขึ้น
องคชาต (penis)
เป็นโครงสร้างที่ทําหน้าที่ใช้เป็นทางผ่านของปัสสาวะออกข้างนอก และเป็นอวัยวะในการ
มีเพศสัมพันธ์ (sexual intercourse โดยเป็นทางผ่านของอสุจิออกข้างนอก) โดย penis จะแบ่งออกเป็น 3 ส่วน
Root of penis จะแบ่งออกเป็นอีก 2 ส่วนย่อย คือ มี crus2 อัน อยู่ทางด้านข้างทั้งสอง ยึด
penis ให้ติดกับกระดูก ischium อีกส่วนหนึ่งของ root อยู่ตรงกลาง เรียก bulb of penisกล้ามเนื้อหุ้มรอบๆ bulb เรียก bulbospongiosus muscle กล้ามเนื้อนี้ช่วยในการขมิบไล่ปัสสาวะและ sperm ออกให้หมดท่อปัสสาวะ
Body of penis คือส่วนที่ห้อยลงมา จะประกอบด้วยเนื้อเยื่อที่เรียกว่า erectile tissue ลักษณะคล้ายฟองน้ํารูปทรงกระบอก 3 อัน
Glans of penis คือส่วนปลายสุดของ corpus spongiosum เป็นส่วนที่โป่งมีลักษณะบานออกคล้ายดอกเห็ด มีเลือดไปคั่งอยู่มากจะมีสีแดง
อวัยวะสืบพันธ์ภายใน ได้แก่ อัณฑะ (testis)
ท่อเก็บอสุจิ(epididymis) -ท่อนําอสุจิ (vas deferens, ductus deferens )
ท่อฉีดน้ําเชื้อ (ejaculatory duct)
อัณฑะ (testis)
อัณฑะมีจํานวน 1 คู่ อยู่ภายในถุงหุ้มอัณฑะ (scrotum) มีลักษณะเป็นรูปไข่ มีความยาประมาณ4-5 ซม. และหนาประมาณ 3 ซม.อัณฑะจะถูกหุ้มด้วยเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน 2 ชั้น
Tunica vaginalis เป็นเยื่อหุ้มที่อยู่ชั้นนอกสุด มีลักษณะหนาเหนียว และไม่ยึดติดกับลูกอัณฑะ
Tunica albuginia เป็นเยื่อหุ้มชั้นในที่มีลักษณะบางและอยู่แนบชิดกับลูกอัณฑะ
หน้าที่หลักของอัณฑะ คือ 1. สร้างอสุจิ (sperm) 2. สร้างฮอร์โมนเพศ
ตัวอสุจิ (spermatozoa) ตัวอสุจิที่เจริญเต็มที่ มีความยาว 55-65 ไมครอน ถูกสร้างขึ้นในอัตราประมาณ 300 ล้านตัว
ต่อวัน
ท่อเก็บอสุจิ(Epididymis) เป็นท่อยาวประมาณ 20 ฟุต หรือประมาณ 6 เมตร ซึ่งขดอยู่บริเวณด้านหลัง (posterior surface) ของ testis
-ท่อนําอสุจิ (vas deferens, ductus deferens ) - ท่อฉีดน้้ำเชื้อ (Ejaculatory duct)
ต่อมที่ทําหน้าที่สร้างของเหลวและสารอาหารสําหรับเลี้ยงเชื้ออสุจิ (Male accessory gland) -ถุงเก็บน้ําอสุจิ (seminal vesicle) -ต่อมลูกหมาก (prostate gland)- ต่อมเมือก (bulbourethral gland หรือ Cowper’s gland)
Seminal vesicle
อวัยวะนี้จัดเป็นต่อมในเพศชายที่มีท่อยาวประมาณ 5 ซม.ทําหน้าที่ สร้างอาหารมาเลี้ยงอสุจิ ส่วนมากเป็นสารพวกด่าง เพื่อป้องกันอสุจิตายในช่อง
คลอด
Prostate gland ต่อมลูกหมาก มีท่อ
ปัสสาวะทะลุผ่านอยู่ภายในต่อม (เรียก prostatic urethra) ต่อมลูกหมากโดยปกติมี 5 พู ทําหน้าที่ผลิตของเหลวให้ seminal fluid
. Bulbouretral gland หรือ Cowper’s gland (ต่อมเมือก)
เป็นต่อมที่อยู่ใต้ต่อมลูกหมาก จะทําหน้าที่สร้างสารที่มีคุณสมบัติเป็นด่างสําหรับหล่อลื่น
เพื่อให้ sperm ผ่านออกมาได้อย่างสะดวก
ความผิดปกติของระบบสืบพันธุเพศชาย
-ภาวะลูกอัณฑะไม่ลงถุง (Crytorchidism) -อัณฑะทํางานน้อย (Hypogonadism) -โรค Kallmann’s syndrome อัณฑะไม่ทํางานเนื่องจากขาด gonadotrophin - การทํางานของระบบสืบพันธุ์ผิดปกติเนื่องจากคนไข้ขาดฮอร์โมนจาก pituitary gland
(hypopituitarism) ทําให้ผู้ป่วยมีการเจริญเติบโตและเข้าสู่วัยหนุ่มช้า เชื้อโรคบางอย่างหรือไวรัส โรคอ้วน ยาเสพติด โรคตับ มีผลต่อการทํางานของอัณฑะ
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
(Urinary System)
ทำหน้าที่ถ่ายเทของเสียที่เกิดจากขบวนการเผาผลาญสารอาหารของเซลล์ใน
ร่างกายกำจัดออกสู่ภายนอก เพื่อรักษาสมดุลย์ของร่างกาย โดยควบคุมความเข้มข้นของเลือด,ควบคุมความเข้มข้นของเกลือแร่ของของเหลวในเน้ือเยื่อทั่วร่างกาย
หน้าที่ในส่วนของต่อมไร้ท่ออีกด้วย โดยท าหน้าที่สร้างและหลั่งerythropoietin เข้าไปในเลือด ซึ่งกระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดแดง, renin ซ่ึงมีผลใหค้วามดนั เลือดสูงข้ึน
ระบบขับถ่ายปัสสาวะประกอบด้วย
ไต (kidney) ทำหน้าที่สร้างน้า ปัสสาวะ โดยการกรองเอาของเสียจากกระบวนการเผาผลาญของร่างกายออกจากเลือด โดยไตจะขับปัสสาวะออกมาเรื่อยๆ ประมาณ 1มิลลิลิตร/นาทีสู่ท่อไตท้งัสองข้าง
ลักษณะภายนอก
ไตแต่ละขา้งถูกคลุมดว้ยเน้ือเยอื่ 3 ชั้นคือ
Renal capsule (ถุงหุ้มไต) อยู่ชั้นในสุด เป็นเยื่อเส้นใย (fibrous membrane) ที่เรียบและใส
ง่ายที่จะดึงออกจากไตทำหน้าที่ป้องกัน
การฉีกขาดและการแพร่ของเชื้อโรคที่จะมาสู่ไต
Adipose capsule (ถุงไขมัน) เป็นชั้นกลางเป็นก้อนของเนื้อเยื่อ ไขมัน ที่อยู่รอบๆถุงหุม้ไต
ชั้น น้ีทำหน้าที่ป้องกันการฉีกขาด และยึดไตใหอยู่ในช่องท้อง
Renal fascia อยู่นอกสุด เป็นเยื่อเกี่ยวพันเส้นใยแน่น บางๆ ทำหน้าที่ยึดไตให้ติดกับposterior wall และเยื่อช่องท้อง
ลักษณะภายใน
1.Cortex อยู่ชั้นนอกของไต ด้านนอกติดกับ renal capsule ด้านในติดกับฐานของ pyramidของชั้น medulla ส่วนของ cortex ที่อยู่ระหว่าง pyramidเรียกว่า renal columns
2.Medulla อยู่ชั้นในของไตถดัจากcortex medulla ประกอบด้วยโครงสร้างรูปสามเหลี่ยมประมาณ 8-18 อันต่อ 1 ไต เรียกรูปสามเหลี่ยมนี้ว่า renal pyramid
โครงสร้างระดับ เนื้อเยื่อ ประกอบด้วย uriniferous tubule ซึ่งประกอบด้วย nephrons (หน่วยไต)และ collecting duct
-เส้นเลือดที่มาเลี้ยงไต เส้นเลือดแดง renal artery เป็นแขนงของ abdominal aorta renal artery ข้างขวาจะยาวกว่าข้างซ้าย
-เส้นเลือดดำ renal vein รับเลือดจากไตเข้าสู่ inferior vena cava renal vein ข้างซ้ายจะยาวกว่าข้างขวา
เส้นประสาทที่มาเลี้ยงไต Renal plexus ซึ่่งเป็นระบบประสาทอัตโนมัติร่างแหประสาทเหล่าน้ีจะพันไปกับ หลอดเลือดเพื่อเข้าไปในไต ทำให้เกิดการปรับขนาดของ arterioles เพื่อควบคุมการไหลเวียนของเลือดภายในไต
หน้าที่ของไต
ก าจัดของเสียออกจากกระแสเลือดทางปัสสาวะ
ควบคุมความเข้มข้นและปริมาตรของเลือดโดยการเลือกขับปริมาณน้ำและสาร
ควบคุมความเป็ นกรด-ด่าง (PH) ของเลือด
ท่อไต (ureter) ทำหน้าที่นำน้า ปัสสาวะจากไตไปยงักระเพาะปัสสาวะ (urinary
bladder)
กระเพาะปัสสาวะ (urinary bladder) ท าหน้าที่กักเก็บน้า ปัสสาวะไวช้วั่ คราว
ท่อปัสสาวะ (urethra) เป็นทางของน้า ปัสสาวะที่ถูกขบัออกจากกระเพาะปัสสาวะออกสู่ภายนอกร่างกาย
ท่อไต (Ureter)
เป็ น retroperitoneal organ มีความยาวประมาณ 25-30 ซม. ปลายด้านบนต่ออยู่กับ renal
pelvis
ผนังของ ureter มี 3 ช้นั ประกอบดว้ย
1) Mucous membrane เป็นช้นั ในสุดติดกบั lumen ของท่อ ผนังบุด้วย transitional
epithelium ซ่ึงเซลลใ์นช้นั น้ีสามารถสร้างเมือกออกมาเครือบบนเยอื่ บุผวิ เพื่อป้องกนั
เซลล์ที่ถูกท าลายจากสารประกอบ และ pH ของปัสสาวะ
2) Muscularis ท าหน้าที่ไล่น้า ปัสสาวะลงไปในกระเพาะปัสสาวะ ประกอบดว้ยกลา้มเน้ือ
เรียบ มีการรียงตัวเป็ น 2 ช้นั ช้นั ในเรียงตวัตามความยาว(longitudinal layer) และ
ช้นั นอกมกีารเรียงตวัเป็นวงกลม (circular layer)
3) Fibrosa หรือ adventitia เป็นช้นั นอกสุด ประกอบดว้ยเน้ือเยอื่ เกี่ยวพนั หลวมๆ ส่วน
ใหญ่มีเสน้ เลือด และท่อน้า เหลือง
เส้นเลือดที่มาเลี้ยง
เส้นเลือดแดง เป็นแขนงของ - renal artery - testicular artery (ในเพศชาย) หรือ ovarian artery (ในเพศหญิง) - superior vesical artery
เส้นเลือดดำ รับเลือดจากแขนงของ
renal vein
testicular vein (ในเพศชาย) หรือ ovarian vein (ในเพศหญิง)
superior vesical vein
หน้าที่ของท่อไต
เป็นทางเดินของน้ำ ปัสสาวะจากกรวยไตไปสู่กระเพาะปัสสาวะ โดยการหดตัวของชั้นกลา้มเนื้อที่ผนงัของหลอดไต ความดัน ปัสสาวะและแรงดึงดูดของโลก
กระเพาะปัสสาวะ (Urinary bladder)
กระเพาะปัสสาวะเป็นอวยัวะที่มีผนังกล้ามเนื้อที่แข็งแรง สามารถยดืและหดตัวได้รูปร่างและขนาดจะเปลี่ยนไปตามปริมาณน้า ปัสสาวะที่เก็บอยู่
ผนังของกระเพาะปัสสาวะมี 3 ช้น
Mucous membrane
Muscularis
Serosa หรือ adventitia เป็นช้นั นอกสุด
เส้นเลือดที่มาเล้ียง
เส้นเลือดแดง - superior vesical artery
inferior vesical artery
เส้นเลือดดำ
vesical venous plexus และ prostatic venous plexus (ในเพศชาย)
vesical venous plexus และ vaginal venous plexus (ในเพศหญิง)
เส้นประสาทที่มาเลี้ยง เป็นระบบประสาทอัตโนมัติ ได้แก่
pelvic splanchnic nerve เลี้ยงdetrusor muscle
pelvic plexus
hypogastric plexus
ท่อปัสสาวะ (Urethra)
ท่อปัสสาวะเป็นท่อเล็กนำปัสสาวะจากกระเพาะปัสสาวะออกสู่ภายนอก
ท่อปัสสาวะในเพศชาย (Male Urethra)
ท่อปัสสาวะในเพศหญิง (Female Urethra)
ส่วนประกอบของน้ำ ปัสสาวะในคนปกติ น้าปัสสาวะปกติจะมีสีเหลืองอ่อน ใส มีค่า pH 5-7 และไม่ควรพบ glucose, amino acid,
protein, red blood cell, ketone, leukocyte, bilirubin, epithelial cell, microorganism ในปัสสาวะ
ความผิดปกติของระบบทางเดินปัสสาวะ
ภาวะไตวาย(renal failure)
โรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบ (Cystitis)
นิ่วในไต (Kidney stone)
การสืบพันธุ์ หมายถึง การเพิ่มจํานวนหรือให้กําเนิดลูกหลานที่เหมือนพ่อแม่หรือบรรพ
บุรุษ เพื่อการดํารงเผ่าพันธุ์โดยการสืบพันธุ์ของมนุษย์เป็นการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ