Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Basal ganglion hemorrhage with intraventricular hemorrhage (การรักษาด้วยยา…
Basal ganglion hemorrhage with intraventricular hemorrhage
Basal ganglion hemorrhage
Basal ganglion hemorrhage คือ การมีเลือดคั่งในสมองบริเวณ Basal ganglion ซึ่ง Basal ganglion คือปมประสาทอยู่ที่ฐานของ Cerebrum ซึ่งทำหน้าที่เกี่ยวกับ การเคลื่อนไหว การดมกลิ่น ความจำ
สาเหตุ
มีประวัติเป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
มีประวัติสูบบุหรี่
ได้รับอุบัติเหตุทางศีรษะ
เนื่องจากผู้ป่วยเป็นผู้สูงอายุและและเป็นโรคความดันโลหิตมา 10 ปี รับยาต่อเนื่องที่โรงพยาบาลสันกำแพง
ผลการตรวจ CT-Brain 4 มีนาคม 2563
Decreased in size of the right frontotemporarietal ICH. with an internal air bubble and overlying surgical bony defects. but there is increased degree of perilesional brain edema.
Slightly decreased amount and density of IVH. with also seen mild hydrocephalus.
Still seen small left periventricular white matter infractions.
New minimal SAHs. at the left high parietal cartical sulci.
Cleaning of sinuses and mastiad.
อาการ
แขนขาอ่อนแรงอย่างเฉียบพลัน
พูดลำบาก พูดไม่ออกหรือฟังไม่เข้าใจ
ช้ก
ชาทันทีครึ่งซีกเสียการทรงตัว
3 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาลผู้ป่วยมีอาการซึมลง เวียนศีรษะ อาเจียน ความดันโลหิตสูง
ผู้ป่วยมีอาการอ่อนแรงข้างซ้าย
การรักษา
การผ่าตัด Craniotmy คือการผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะเพื่อนำก้อนเลือดที่คั่งออก วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2563
intraventricular hemorrhage
intraventricular hemorrhage คือ ภาวะเลือดออกในโพรงสมอง คือ ภาวะที่มีเลือดออกในกะโหลกศีรษะ ในเนื้อสมองส่วนที่เป็นโพรงสมอง (Ventricle) อาจเกิดจากเลือดที่ออกโดยตรงในโพรงสมองหรือเลือกออกในโพรงสมองปฐมภูมิ (Primary intraventricular hemorrhage ) หรือเกิดจากเลือกออกภายในสมองก่อนแล้วแตกทะลุเข้าสู่โพรงสมอง/เลอดออกในโพรงสมองทุติยภูมิ (Secondary intraventricular hemorrhage) ทั้ง 2 กรณี จะส่งผลต่อการไหลของน้ำ CSF ถูกอุดกั้นส่งผลในเกิดความดันในกะโหลกศีรษะสูงขึ้น (Increased intracranial pressure: IICP) จึงมีอาการผิดปกติต่างทางระบบประสาท
ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็น Basal ganglion hemorrhage with intraventricular hemorrhage
สาเหตุ
เกิดจากการแตกของหลอดเลือดในเนื้อสมองก่อน
เลือดออกในเนื้อสมองจากความดันโลหิตที่คุมได้ไม่ดี
เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางแล้วไหลเข้าสู่โพรงสมองภายใน
จากผลการตรวจ CT-Brain 4 มีนาคม 2563
Decreased in size of the right frontotemporarietal ICH. with an internal air bubble and overlying surgical bony defects. but there is increased degree of perilesional brain edema.
Slightly decreased amount and density of IVH. with also seen mild hydrocephalus.
Still seen small left periventricular white matter infractions.
New minimal SAHs. at the left high parietal cartical sulci.
Cleaning of sinuses and mastiad.
การรักษา
ผ่าตัด Ventricolostomy คือการผ่าตัดระบายน้ำไขสันหลังออกจากโพรงสมอง วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2563
อาการ
คลื่นไส้ อาเจียน กลืนลำบาก ลิ้นรับรสชาติผิดปกติ
แขนขาอ่อนแรงเฉียบพลัน หมดสติ ซึมลง ไม่ตอบสนอง ตาพร่ามัว การตอบสนองของรูม่านตาไม่เท่ากันตอบสนองช้า
เวียนศีรษะ ความดันโลหิตสูง
3 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาลผู้ป่วยมีอาการซึมลง เวียนศีรษะ อาเจียน
เนื่องจากผู้ป่วยเป็นผู้สูงอายุและและเป็นโรคความดันโลหิตมา 10 ปี รับยาต่อเนื่องที่โรงพยาบาลสันกำแพง ทำให้ภายในหลอดเลือดมีความดันสูงประกอบกับอายุที่มากขึ้นทำให้หลอดเลือดแข็งและเปราะ ความดันโลหิตสูงเป็นเวลานานส่งผลให้หลอดเลือดแตก ซึ่งอาการจะเป็นไปตามตำแห่งที่เกิด ซึ่งผู้ป่วยรายนี้พบการแตกของหลอดเลือดที่ Basal ganglion
การรักษาด้วยยา
Metoprolol (100) 1/4x1 @ pc
Folic (5) 1x1 @ pc เช้า
Melformin (500) 2x2 @ pc
Glipizide (5) 1x2 @ ac
Amlodipine (5) 1x2 @ pc
Meropenam 1 gm v q 8 hr.
Amikacin 700 mg v od
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ติดเชื้อทางเดินปัสสาวะเนื่องจากคาสายสวนเป็นเวลานาน
ปอดอักเสบจากการใส่ท่อช่วยหายใจเป็นเวลานาน
พร่องกิจวัตรประจำวันเนื่องจากระดับความรู้สึกตัวลดลง
เสี่ยงต่อภาวะความดันกะโหลกศีรษะสูงเนื่องจากมีพยาธิสภาพที่สมอง
เสี่ยงต่อการหย่าเครื่องช่วยหายใจไม่สำเร็จ
เสี่ยงต่อการติดเชื่อบริเวณแผลระบายน้ำไขสันหลังจากโพรงสมอง
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการนอนนาน ได้แก่ ข้อติดและแผลกดทับ
การซักประวัติ
นาง A อายุ 64 ปี เชื้อชาติ ไทย ศาสนา พุทธ ระดับการศึกษา ประถมศึกษาปีที่ 4 สถานภาพ หม้าย อาชีพ แม่บ้าน รายได้ -
Chief complaint :check: ผู้ป่วยมีอาการซึมลง เวียนศีษะ อาเจียน 3 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยบาล
Present illness :check: 4 เดือนก่อนาโรงพยาบาล แพทย์วินิจฉัยว่าเป็น Right basal ganglion hemorrhge ไม่ได้รับการผ่าตัด จึงกลับไปพักที่ Nursing home ผู้ป่วยสามารถรับประทานอาหารได้เอง ขับถ่ายได้เองบนเตียง สามารถพูดคุยได้แต่มีอาการอ่อนแรงขางซ้าย่ 3 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล เจ้าหน้าที่ Nursing home แจ้งว่าผู้ป่วยมีอาการเวียนศีรษะ อาเจียน ซึมลง ความดันโลหิตสูง จึงนำส่งโรงพยาบาล
Past history :check: ปฏิเสธ
Underlying :check: เป็นโรคความดันโลหิต มา 10 ปี รับยาที่โรงพยาบาลสันกำแพง รับยาต่อเนื่อง
การตรวจร่างกาย
การตรวจร่างกายทั่วไป : ปกติทุกส่วน
Neuro signs : LOC Stupor, GCS E2VTM4 pupil 3 mmRTLBE motor power grade 2 all.
สภาพผู้ป่วยเมื่อเริ่มดูแล วันที่ 9 มีนาคม 2563 ผู้ป่วยหญิงไทยอายุ 64 ปี รูปร่างสมส่วน เรียกไม่รู้สึกตัว จากการประเมิน LOC Stupor, GCS E2VTM4 pupil 3 mmRTLBE motor power grade 2 all. บริเวณศีรษะด้านขวามีแผลผ่าตัด Craniotomy ปิดด้วยซ๊อซ ไม่มี discharge ซึม บริเวณศีรษะด้านขวามีแผลผ่าตัด Ventriculostomy ปิดด้วยก๊อซไม่มี discharge ซึม on EVD setting 10 cmH2O น้ำ CSF flow ดี ลักษณะสีน้ำล้างเนื้อ ปริมาณ 10 ml On NG tube for feeding BD (1:1) 300mlx5 feed On ET-tube no.7.5 mark 20 with ventilator setting CMV mode RR 15 TV 400 FiO2 0.4 PEEP 3 หายใจสัมพันธ์กับเครื่องดี หายใจสม่ำเสมอ O2 sat 99% On plug บริเวณแขนขวา ไม่มีอาการบวมแดง Retained Foley's cather with bag urine 100ml สีเหลืองมีตะกอน ุจจาระ 2 ครั้ง ลักษณะเหลวสีเหลืองอ่อน