Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
PREGNANCY INDUCED HYPERTENSION (GESTATIONAL HYPERTENTION…
PREGNANCY INDUCED HYPERTENSION
มีความดันโลหิตสูงครั้งแรกใน
ระยะตั้งครรภ์ (ก่อนตังครรภ์
ความดันโลหิตปกติ)
เกิดในช่วงหลังอายุครรภ์20สัปดาห์
ไปแล้ว
BP ≥ 140/90 mmHg.
GESTATIONAL HYPERTENTION
ความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภ์
ไม่พบโปรตีนในปัสสาวะ หรือ Trace หรือ protein urea < 300 mg
2.PREECLAMPSIA
มีความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภร่วมกับมีโปรตีนใน
ปัสสาวะ (protein urea)
Mild preeclampsia
BP ≥ 140/90 mmHg.
Prot. Urea > 300 mg/day
Urine dipstick 1+
การรักษา
Admit โรงพยาบาล ประมาณ 1-2 วัน
ให้ผู้ป่วยได้พักผ่อน และผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น น้ำหนัก ความดันโลหิต protein urea, serum creatinin, Hct, platelet,้ liver function test (ALT, AST)
ultrasound เพื่อดูขนาดทารก
ปริมาณน้ำ คร่ํา
NST
ประคับประคองจนกว่าจะตั้งครรภ์ครบกำหนด ยกเว้น severe preeclampsia หรือ fetal distress
การพยาบาล
อธิบายให้สตรีต้ังครรภ์เข้าใจถึงเหตุผลที่ต้องอยู่โรงพยาบาล
bed rest ให้ได้มากที่สุด
รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ตรวจ protein urea อย่างน้อยวันละ 1 คร้ัง
วัดความดันโลหิต ทุก 4 ชั่วโมง ยกเว้นหลังเที่ยงคืน เพื่อหลีกเลี้ยงการรบกวน
การนอนหลับ
ส่งเลือดและปัสสาวะ 24 ชั่วโมง โดยอธิบายเหตุที่ต้องเจาะเลือด และแนะนำ วิธีการเก็บปัสสาวะ 24 ชั่วโมง
เตรียมสตรีต้ังครรภ์เพื่อรับการตรวจต่างๆ เช่น ultrasound/NST และแนะนำสตรีตั้งครรภ์ให้นับจำนวนครั้งการดิ้นของทารกในครรภ์
ถ้ามีอาการปวดศีรษะ หน้ามืด ตาพร่ามัว ให้งดการให้ breast feeding
SEVERE PREECLAMPSIA
BP ≥ 160/110 mmHg
Prot. Urea > 2 g/day
Urine dipstick 2+
การพยาบาล
จัดให้นอนพักในห้องที่สงบ ไม่พลุกพล่าน ควรนอนตะแคง ซ้ายเพื่อให้เลือดไปเลี้ยงรกได้ดีขึ้น
เตรียม MgSO4 และ Calcium gluconate ให้พร้อม
ก่อนให้ MgSO4 อธิบายถึงความจำเป็นที่ต้องให้ยา อาการร้อนทั่วร่างกายขณะแพทย์ให้ยา
ขณะแพทย์ฉีด MgSO4 (loading dose) วัดความดันโลหิต ทุก 5 นาที หาก diastolic ต่าํ กว่า 90 mmHg.ต้องรายงานแพทย์ เพราะอาจเกิด fetal distress
ขณะหยด MgSO4 ทางหลอดเลือดดำ ให้เฝ้าระวังสิ่งต่อไปน้ี ทุก 1 ชั่วโมง
record urine ต้องออกไม่น้อยกว่า 25 ml/hr
Diastolic > 90 mmHg.
อัตราการหายใจ > 14 ครั้ง/นาที
Deep tendon reflex ไม่น้อยกว่า 1+
รายที่ได้รับ Hydralazine ในขณะแพทย์ฉีดยา พยาบาลต้องวัด ความดัน ทุก 5 นาที และสังเกตอาการข้างเคียง เช่น ใจสั่น ปวด ศีรษะ อาเจียน
ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ โดยติด Doppler auscultation เพื่อประเมินการเต้นหัวใจของทารก
เตรียม O2 ให้พร้อม
ประเมินการเกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น placenta abruption (ปวด
มดลูก, vital signs, fetal heart sound)
ดูแลสภาพจิตใจ โดยอยู่ใกล้ชิด ให้ความช่วยเหลือ ลดความไม่ สุขสบายต่างๆ สร้างความอบอุ่นใจ
การรักษา
ป้องกันภาวะชัก
ยุติการตั้งครรภ์โดยเร็ว ยกเว้นในราย อายุครรภ์น้อยกว่า 34 สัปดาห์ แพทย์อาจให์ corticosteroid หลังจากนั้นจึงให์ คลอดได้
ควบคุมความสมดุลของน้ําและ electrolyte ประเมิน การทํางานของไต ตับ ความข้นของเลือดและเกร็ด เลือด
ให้ยาป้องกันชัก MgSO4
การให้ยาคร้ังแรก (Loading dose)
ใช้ 10 % MgSO4 ขนาด 5 กรัม ฉีดเข้าหลอดเลือดดพช้าๆ นาน 5-10 นาที
การให้ยาเพื่อควบคุมการชักต่อไป (Maintenance Dose)
ฉีดเข้ากล้ามเน้ือ ใช้ 50 % MgSO4 ขนาด 10 กรัม ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ(upper outer quardrant) ทันที ข้างละ 5 กรัมทุก 4 ชั่วโมง จนครบ 24 ชม
ในขณะฉีด MgSO4 ควรมียา
10% Calcium gluconate
ไว้ข้างเตียงเสมอ โดยถ้าพบว่า หญิงตั้งครรภ์ หยุด
หายใจ ให้ฉีด 10% Calcium gluconate 10 ml เข้าหลอดเลือดเลือดดําโดยฉีดช้าๆ ประมาณ 3 – 5 นาที
ECLAMPSIA
มีภาวะชัก
การรักษา
แก้ภาวะชัก
รักษาทางเดินหายให้โล่ง ด้วยการใส่ oral air way ป้องกันการ
กัดลิ้น
Suction clear air way
ป้องกันการชักซ้ำฉีด 10% MgSO4 5 g.
ให้ O2
NPO
ยุติการต้ังครรภ์ภายหลังควบคุมอาการชักได้แล้ว 1-2 ชั่วโมง
การพยาบาล
ให้ความช่วยเหลือโดยใช้อุปกรณ์กดลิ้นเพื่อมิให้สตรีตั้งครรภ์ กัดลิ้น หรือกันมิให้ลิ้นไปอุดทางเดินหายใจ พร้อมทั้ง ช่วย แพทย์ในการดูดเสมหะ และให้ออกซิเจน
จัดให้สตรีตั้งครรภ์ นอนตะแคงซ้ายเพื่อมิให้สําลักน้ำลาย
เตรียม 10% MgSO4 เพื่อฉีดให้กล้ามเนื้อคลายตัวและ ป้องกันการชักซ้ำตามแผนการรักษาของแพทย์
ให้การดูแลสตรีตั้งครรภ์อย่างใกล้ชิด เนื่องจากในระยะหลังชักสตรี ตั้งครรภ์ จะอยู่ในภาวะ semi-coma ระยะนี้จะกินเวลาประมาณ 1-4 ชั่วโมง
ประเมินสุขภาพของทารกในครรภ์อย่าง
ใกล้ชิด เพราะทารกอาจขาด
ออกซิเจนได้ขณะที่มารดาชัก และขณะเดียวกันก็อาจเกิดภาวะรกลอกตัว
ก่อนกําหนด
ผลกระทบ
มารดา
ทำให้เลือดไหลเวียนไม่ดี เลือดไหลเวียนเข้าสู่รกลดลง เกิดเนื้อตายของรก ทำให้ทารกเจริญเติบโตช้า หรือเสียชีวิตในครรภ์
ทำให้เกร็ดเลือดและสารที่ช่วยในการแข็งเลือด่ำมาก ทำให้เกิดภาวะ DIC (disseminated intravascular coagulopathy)
เลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ กระตุ้นให้เกิดอาการปวดศีรษะ ตาพร่ามัว และชักในที่สุด
เลือดจะไปเลี้ยงตับได้ไม่ดี และภาวะเกร็ดเลือดต่ำ(<100,000/ cm3) ทำให้เกิด hemorrhagic necrosis ได้ ระดับเอนไซม์ตับจะเพิ่มข้ึน ในรายที่มีภาวะ severe preeclampsia หรือ eclampsia อาจเกิด HELLP syndrome
เลือดไปเลี้ยงไตน้อยลง ประสิทธิภาพการกรองของไตลดลง โปรตีนรั่วออกมาในปัสสาวะ
ทารก
ทารกในครรภ์เจริญเติบช้า (IUGR)
ทารกขาด Oxygen ทั้งในระยะตังครรภ์และระยะคลอด
เกิดภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนด (placenta abruption)
-คลอดก่อนกำหนด และเสี่ยงที่จะได้รับการกู้ชีพ
สาเหตุ
ระยะที่ 1 preclical stage
เซลล์ของรก (trophoblasts) ไม่สามารถฝังตัวหรือฝังตัวไม่ดีในเยื่อบุโพรงมดลูก (endometrium)
หลอดเลือดของมดลูก (spiral artery)
อาจมีลักษณะตีบกว่าปกติ
ระยะที่ 2 clinical stage
สารที่ยับยั้งการสร้างหลอดเลือด
( sFlT – 1) >
สารที่ส่งเสริมการสร้างหลอดเลือด (PlGF)
รกขาดเลือดไปเลี้ยงอย่างต่อเนื่อง (placenta oxidative)
ผนังหลอดเลือดเสื่อมลง
มีการหดรัดตัว ของหลอดเลือด