Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็กพ.ศ. ๒๕๔๖ (หมวด ๖ สถานรับเลี้ยงเด็ก สถานแรกรับ…
พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็กพ.ศ. ๒๕๔๖
หมวด ๒ การปฏิบัติต่อเด็ก
มาตรา ๒๕ ผู้ปกครองต้องไม่กระทําการ
(๑) ทอดทิ้งเด็กไว้ในสถานรับเลี้ยงเด็กหรือสถานพยาบาลหรือไว้กับบุคคลที่รับจ้างเลี้ยงเด็กหรือที่ สาธารณะหรือสถานที่ใดๆ โดยเจตนาที่จะไม่รับเด็กกลับคืน
(๒) ละทิ้งเด็กไว้ณ สถานที่ใดๆ โดยไม่จัดให้มีการป้องกันดูแลสวัสดิภาพหรือให้การเลี้ยงดูที่เหมาะสม
(๓) จงใจหรือละเลยไม่ให้สิ่งที่จําเป็นแก่การดํารงชีวิตหรือสุขภาพอนามัยจนน่าจะเกิดอันตรายแก่ ร่างกายหรือจิตใจของเด็ก
(๔) ปฏิบัติต่อเด็กในลักษณะที่เป็นการขัดขวางการเจริญเติบโตหรือพัฒนาการของเด็ก
(๕) ปฏิบัติต่อเด็กในลักษณะที่เป็นการเลี้ยงดูโดยมิชอบ
มาตรา ๒๖ ภายใต้บังคับบทบัญญัติแห่งกฎหมายอื่น ไม่ว่าเด็กจะยินยอมหรือไม่ห้ามมิให้ผู้ใด
มาตรา ๒๓ ผู้ปกครองต้องให้การอุปการะเลี้ยงดู อบรมสั่งสอน และพัฒนาเด็กที่อยู่ในความ ปกครองดูแลของตนตามสมควรแก่ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมแห่งท้องถิ่น
มาตรา ๒๗ ห้ามมิให้ผู้ใดโฆษณาหรือเผยแพร่ทางสื่อมวลชนหรือสื่อสารสนเทศประเภทใด ซึ่ง ข้อมูลเกี่ยวกับตัวเด็กหรือผู้ปกครอง โดยเจตนาที่จะทําให้เกิดความเสียหายแก่จิตใจ ชื่อเสียง เกียรติคุณ หรือสิทธิ ประโยชน์อื่นใดของเด็ก หรือเพื่อแสวงหาประโยชน์สําหรับตนเองหรือผู้อื่นโดยมิชอบ
มาตรา ๒๒ การปฏิบัติต่อเด็กไม่ว่ากรณีใด ให้คํานึงถึงประโยชน์สูงสุดของเด็กเป็นสําคัญและไม่ให้ มีการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม
มาตรา ๒๘ ในกรณีผู้ปกครองตกอยู่ในสภาพไม่อาจให้การอุปการะเลี้ยงดู อบรม สั่งสอน และ พัฒนาเด็กได้ไม่ว่าด้วยเหตุใด หรือผู้ปกครองกระทําการใดอันน่าจะเกิดอันตรายต่อสวัสดิภาพหรือขัดขวางต่อความ เจริญเติบโตหรือพัฒนาการของเด็กหรือให้การเลี้ยงดูโดยมิชอบ
มาตรา ๒๙ ผู้ใดพบเห็นเด็กตกอยู่ในสภาพจําต้องได้รับการสงเคราะห์หรือคุ้มครองสวัสดิภาพตาม หมวด ๓ และหมวด ๔ จะต้องให้การช่วยเหลือเบื้องต้นและแจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ พนักงานฝ่ายปกครองหรือ ตํารวจ หรือผู้มีหน้าที่คุ้มครองสวัสดิภาพเด็กตามมาตรา ๒๔ โดยมิชักช้า
มาตรา ๓๐ เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตามหมวด ๓ และหมวด ๔ มีอํานาจและหน้าที่
มาตรา ๓๑ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เป็นเจ้าพนักงานตาม ประมวลกฎหมายอาญา
หมวด ๔ การคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก
มาตรา ๔๒ การดําเนินการคุ้มครองสวัสดิภาพเด็กตามมาตรา ๔๑ วรรคสอง ต้องรีบจัดให้มีการ ตรวจรักษาทางร่างกายและจิตใจทันที ถ้าพนักงานเจ้าหน้าที่เห็นสมควรต้องสืบเสาะและพินิจเกี่ยวกับเด็กและ ครอบครัว
มาตรา ๔๓ กรณีที่ผู้ปกครองหรือญาติของเด็กเป็นผู้กระทําทารุณกรรมต่อเด็ก ถ้ามีการฟ้อง คดีอาญาแก่ผู้กระทําผิดและมีเหตุอันควรเชื่อว่าผู้ถูกฟ้องนั้นจะกระทําทารุณกรรมแก่เด็กอีก ก็ให้ศาลที่พิจารณาคดี
มาตรา ๔๑ ผู้ใดพบเห็นหรือประสบพฤติการณ์ที่น่าเชื่อว่ามีการกระทําทารุณกรรมต่อเด็กให้รีบแจ้ง หรือรายงานต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ พนักงานฝ่ายปกครองหรือตํารวจ หรือผู้มีหน้าที่คุ้มครองสวัสดิภาพเด็กตาม มาตรา ๒๔
มาตรา ๔๔ เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่หรือผู้มีหน้าที่คุ้มครองสวัสดิภาพเด็กตามมาตรา ๒๔ พบเห็น หรือได้รับแจ้งจากผู้พบเห็นเด็กที่เสี่ยงต่อการกระทําผิดให้สอบถามเด็กและดําเนินการหาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับตัวเด็ก
มาตรา ๔๐ เด็กที่พึงได้รับการคุ้มครองสวัสดิภาพ
(๒) เด็กที่เสี่ยงต่อการกระทําผิด
(๓) เด็กที่อยู่ในสภาพที่จําต้องได้รับการคุ้มครองสวัสดิภาพตามที่กําหนดในกฎกระทรวง
(๑) เด็กที่ถูกทารุณกรรม
มาตรา ๔๕ ห้ามมิให้เด็กซื้อหรือเสพสุราหรือบุหรี่ หรือเข้าไปในสถานที่เฉพาะเพื่อการจําหน่ายหรือ เสพสุราหรือบุหรี่ หากฝ่าฝ่นให้พนักงานเจ้าหน้าที่สอบถามเด็กเพื่อทราบข้อมูลเกี่ยวกับเด็กและมีหนังสือเรียก
มาตรา ๔๖ ในกรณีที่ปลัดกระทรวงหรือผู้ว่า่ราชการจังหวัดสั่งให้ส่งเด็กเข้ารับการคุ้มครอง สวัสดิ ภาพหรือในกรณีพนักงานเจ้าหน้าที่ออกข้อกําหนดให้เด็กทํางานบริการสังคมหรือทํางานสาธารณประโยชน์ตาม มาตรา ๔๕ หากผู้ปกครองไมเห็นด้วยให้มีสิทธินําคดีไปสู่ศาลตามมาตรา ๕ ภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วัน รับทราบคําสั่ง
มาตรา ๔๗ วิธีการดําเนินการคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก นอกจากที่บัญญัติไว้ในหมวดนี้ให้เป็นไปตาม ระเบียบที่คณะกรรมการกําหนด
บทเฉพาะกาล
มาตรา ๘๗ ให้สถานรับเลี้ยงเด็ก สถานแรกรับ สถานสงเคราะห์ และสถานคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก ของหน่วยราชการ หรือของเอกชนที่ได้รับอนุญาต ตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๙๔ ลงวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๕
มาตรา ๘๘ บรรดากฎกระทรวง ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ หรือคําสั่งที่ออกโดยอาศัยอํานาจตาม ความในประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๙๔ ลงวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๕ และประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๑๓๒ ลงวันที่ ๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๑๕
หมวด ๙ บทกําหนดโทษ
มาตรา ๘๐ ผู้ใดขัดขวางไม่ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติตามมาตรา ๓๐ (๑) หรือ (๕) หรือไม่ยอม ส่งเอกสารหรือส่งเอกสารโดยรู้อยู่ว่าเป็นเอกสารเท็จแก่พนักงานเจ้าหน้าที่เมื่อถูกเรียกให้ส่งตามมาตรา ๓๐
มาตรา ๘๑ ผู้ใดฝ่าฝืนข้อกําหนดของศาลในการคุมความประพฤติ ห้ามเข้้าเขตกําหนด หรือห้าม เข้้าใกล้ตัวเด็กตามมาตรา ๔๓ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้ง ปรับ
มาตรา ๘๒ ผู้ใดจัดตั้งหรือดําเนินกิจการสถานรับเลี้ยงเด็ก สถานแรกรับ สถานสงเคราะห์ สถาน คุ้มครองสวัสดิภาพ หรือสถานพัฒนาและฟื้นฟูตามมาตรา ๕๒ โดยมิได้รับใบอนุญาตหรือใบอนุญาตถูกเพิกถอน หรือหมดอายุ
มาตรา ๘๓ เจ้าของหรือผู้ปกครองสวัสดิภาพของสถานรับเลี้ยงเด็ก สถานแรกรับ สถานสงเคราะห์ สถานคุ้มครองสวัสดิภาพ หรือสถานพัฒนาและฟื้นฟูผู้ใดไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ หรือกฎกระทรวง
มาตรา ๗๙ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๒๗ มาตรา ๕๐ หรือมาตรา ๖๑ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหก เดือน หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา ๘๔ ผู้ใดกระทําการเป็นผู้ปกครองสวัสดิภาพของสถานแรกรับ สถานสงเคราะห สถาน คุ้มครองสวัสดิภาพ และสถานพัฒนาและฟื้นฟูโดยมิได้รับแต่งตั้งตามมาตรา ๕๕ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่ง เดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา ๗๘ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๒๖ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสามเดือน หรือปรับไม่เกินสามหมื่น บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา ๘๕ ผู้ใดกระทําการอันเป็นการยุยง ส่งเสริม ช่วยเหลือ หรือสนับสนุนให้นักเรียนหรือ นักศึกษาฝ่าฝืนบทบัญญัติตามมาตรา ๖๔ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสามเดือน หรือปรับไม่เกินสามหมื่นบาท หรือ ทั้งจําทั้งปรับ
มาตรา ๘๖ ผู้ใดไม่อํานวยความสะดวกแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรา ๖๗ ต้อง ระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
หมวด ๗ การส่งเสริมความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา
มาตรา ๖๕ นักเรียนหรือนักศึกษาผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๖๔ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติตามระเบียบที่ รัฐมนตรีกําหนด และมีอํานาจนําตัวไปมอบแก่ผู้บริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษาของนักเรียนหรือนักศึกษานั้น
มาตรา ๖๖ พนักงานเจ้าหน้าที่ตามหมวดนี้มีอํานาจดําเนินการเพื่อส่งเสริมความประพฤตินักเรียน และนักศึกษา
มาตรา ๖๔ นักเรียนและนักศึกษาต้องประพฤติตนตามระเบียบของโรงเรียนหรือสถานศึกษาและ ตามที่กําหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๖๗ ในกรณีมีเหตุอันควรสงสัยว่ามีการฝ่าฝืนกฎหมายหรือระเบียบเกี่ยวกับความประพฤติ ของนักเรียนหรือนักศึกษา ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอํานาจเข้าไปในเคหสถาน สถานที่ หรือยานพาหนะใดๆ
มาตรา ๖๓ โรงเรียนและสถานศึกษาต้องจัดให้มีระบบงานและกิจกรรมในการแนะแนวให้ คําปรึกษาและฝึกอบรมแก่นักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง
หมวด ๘ กองทุนคุ้มครองเด็ก
มาตรา ๗๕ ให้มีคณะกรรมการติดตามและประเมินผลการดําเนินงานของกองทุนจํานวนห้าคน ประกอบด้วย ประธานกรรมการและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งคณะกรรมการแต่งตั้งจากผู้ซึ่งมีความรู้ความสามารถ
มาตรา ๗๗ ให้คณะกรรมการบริหารกองทุนจัดทํางบดุลและบัญชีทําการส่งผู้สอบบัญชีตรวจสอบ ภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันสิ้นปีบัญชีทุกปี
มาตรา ๗๓ ให้คณะกรรมการบริหารกองทุนมีอํานาจหน้าที่
(๑) บริหารกองทุนให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนด
(๒) พิจารณาอนุมัติการจ่ายเงินเพื่อการสงเคราะห์ คุ้มครองสวัสดิภาพและส่งเสริมความประพฤติ เด็ก รวมทั้งครอบครัวและครอบครัวอุปถัมภ์ของเด็กตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนดหรือตามคําสั่งศาล
(๓) รายงานสถานะการเงินและการบริหารกองทุนต่อคณะกรรมการตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนด
มาตรา ๗๔ การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน การจัดหาผลประโยชน์และการจัดการ กองทุน ให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนด
มาตรา ๗๒ ให้นําบทบัญญัติมาตรา ๙ มาตรา ๑๐ มาตรา ๑๑ มาตรา ๑๒ มาตรา ๑๓ และมาตรา ๑๕ มาใช้บังคับกับการดํารงตําแหน่ง การพ้นจากตําแหน่ง และการประชุมของคณะกรรมการบริหารกองทุน และการ แต่งตั้งคณะอนุกรรมการของคณะกรรมการบริหารกองทุน โดยอนุโลม
มาตรา ๗๑ ให้มีคณะกรรมการบริหารกองทุนคณะหนึ่ง ประกอบด้วย ปลัดกระทรวงการพัฒนา สังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เป็นประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงมหาดไทย
มาตรา ๗๐ เงินและดอกผลที่กองทุนได้รับตามมาตรา ๖๙ ไม่ต้องนําส่งกระทรวงการคลังเป็นรายได้แผ่นดิน
มาตรา ๖๙ กองทุนประกอบด้วย
(๓) เงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้บริจาคหรือมอบให้
(๔) เงินอุดหนุนจากต่างประเทศหรือองค์การระหว่างประเทศ
(๕) เงินหรือทรัพย์สินที่ตกเป็นของกองทุนหรือที่กองทุนได็รับตามกฎหมายหรือโดยนิติกรรมอื่น
(๖) เงินที่ริบจากเงินประกันของผู้ปกครองที่ผิดทัณฑ์บนตามมาตรา ๓
(๒) เงินที่ได้รับจากงบประมาณรายจ่ายประจําปี
(๗) ดอกผลที่เกิดจากเงินหรือทรัพย์สินของกองทุน
(๑) เงินทุนประเดิมที่รัฐบาลจัดสรรให้
มาตรา ๖๘ ให้รัฐบาลจัดสรรงบประมาณเพื่อจัดตั้งกองทุนขึ้นกองทุนหนึ่งในสํานักงาน ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เรียกว่า “กองทุนคุ้มครองเด็ก”
มาตรา ๗๖ คณะกรรมการติดตามและประเมินผลตามมาตรา ๗๕ มีอํานาจหน้าที่
(๒) รายงานผลการปฏิบัติงานพร้อมทั้งข้อเสนอแนะต่อคณะกรรมการ
(๓) มีอํานาจเรียกเอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับกองทุนจากบุคคลใดหรือเรียกบุคคลใดมา ชี้แจงข้อเท็จจริงเพื่อประกอบการพิจารณาประเมินผล
(๑) ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดําเนินงานของกองทุน
หมวด ๖ สถานรับเลี้ยงเด็ก สถานแรกรับ สถานสงเคราะห์ สถานคุ้มครองสวัสดิภาพและสถานพัฒนาและฟื้นฟู
มาตรา ๖๑ ห้ามมิให้เจ้าของ ผู้ปกครองสวัสดิภาพ และผู้ปฏิบัติงานในสถานรับเลี้ยงเด็ก สถานแรก รับ สถานสงเคราะห์ สถานคุ้มครองสวัสดิภาพ และสถานพัฒนาและฟื้นฟู ทําร้ายร่างกายหรือจิตใจ กักขัง ทอดทิ้ง
มาตรา ๖๒ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ หรือตามที่ได้รับมอบหมายจาก ปลัดกระทรวงหรือผู้ว่าราชการจังหวัด ให้ผู้ปกครองสวัสดิภาพเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา ๖๐ ผู้ปกครองสวัสดิภาพของสถานพัฒนาและฟื้นฟูมีอํานาจและหน้าที่
มาตรา ๕๙ ผู้ปกครองสวัสดิภาพของสถานคุ้มครองสวัสดิภาพมีอํานาจและหน้าที่
มาตรา ๕๘ ผู้ปกครองสวัสดิภาพของสถานสงเคราะห์มีอํานาจและหน้าที่ตามมาตรา ๕๖ (๑) (๒) (๓)
มาตรา ๕๗ ผู้รับใบอนุญาตและผู้ปกครองสวัสดิภาพของสถานสงเคราะห์และสถานคุ้มครองสวัสดิ ภาพที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นต้องควบคุมดูแลให้มีการรับเด็กที่จําต้องได้รับการสงเคราะห์ หรือคุ้มครองสวัสดิภาพทุกคนไว้อุปการะเลี้ยงดู
มาตรา ๕๕ ให้ปลัดกระทรวงและผู้ว่าราชการจังหวัด มีอํานาจแต่งตั้งหรือถอดถอนผู้ปกครองสวัสดิ ภาพของสถานแรกรับ สถานสงเคราะห์ สถานคุ้มครองสวัสดิภาพ และสถานพัฒนาและฟื้นฟู ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๕๔ ในสถานแรกรับ สถานสงเคราะห์ สถานคุ้มครองสวัสดิภาพ และสถานพัฒนาและฟื้นฟู จะต้องไม่ดําเนินกิจการในลักษณะแสวงหากําไรในทางธุรกิจ และต้องมีผู้ปกครองสวัสดิภาพเป็นผู้ปกครองดูแลและ บังคับบัญชา
มาตรา ๕๓ ให้ปลัดกระทรวง ผู้ว่าราชการจังหวัด คณะกรรมการ คณะกรรมการคุ้มครองเด็ก กรุงเทพมหานคร และคณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวัด
มาตรา ๕๒ ภายใต้บังคับของมาตรา ๕๑ ผู้ใดจะจัดตั้งสถานรับเลี้ยงเด็ก สถานแรกรับ สถาน สงเคราะห์ สถานคุ้มครองสวัสดิภาพ และสถานพัฒนาและฟื้นฟู ต้องขอรับใบอนุญาตต่อปลัดกระทรวงหรือผู้ว่า ราชการจังหวัด แล้วแต่กรณี
มาตรา ๕๑ ปลัดกระทรวงมีอํานาจจัดตั้งสถานรับเลี้ยงเด็ก สถานแรกรับ สถานสงเคราะห สถาน คุ้มครองสวัสดิภาพ และสถานพัฒนาและฟื้นฟู ได้ทั่วราชอาณาจักร
หมวด ๕ ผู้คุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก
มาตรา ๔๙ ผู้คุ้มครองสวัสดิภาพเด็กมีอํานาจและหน้าที่
(๒) เยี่ยมเยียน ให้คําปรึกษา และแนะนําแก่ผู้ปกครองเกี่ยวกับเรื่องการอบรมสั่งสอนและเลี้ยงดู เด็กที่อยู่ในการกํากับดูแล
(๓) จัดทํารายงานและความเห็นเกี่ยวกับสภาพความเป็นอยู่ของเด็กและของผ้ปกครองเสนอต่อปลัดกระทรวง ผู้ว่าราชการจังหวัด พนักงานเจ้าหน้าที่ ผู้ปกครองสวัสดิภาพ คณะกรรมการ คณะกรรมการคุ้มครอง เด็กกรุงเทพมหานคร
(๑) เยี่ยมเยียน ให้คําปรึกษา แนะนํา และตักเตือนเกี่ยวกับเรื่องความประพฤติ การศึกษา และ การประกอบอาชีพแก่เด็กที่อยู่ในการกํากับดูแล
มาตรา ๕๐ ห้ามมิให้ผู้ปกครองสวัสดิภาพหรือผู้คุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก เปิดเผยชื่อตัว ชื่อสกุล ภาพหรือข้อมูลใดๆ เกี่ยวกับตัวเด็ก ผู้ปกครอง ในลักษณะที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ชื่อเสียง เกียรติคุณ หรือสิทธิ ประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่งของเด็กหรือผู้ปกครอง
มาตรา ๔๘ ในการดําเนินการสงเคราะห์ คุ้มครองสวัสดิภาพ และส่งเสริมความประพฤติแก่เด็ก ตามพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่น ถ้าพนักงานเจ้าหน้าที่เห็นว่ามีเหตุสมควรแต่งตั้งผู้คุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก
หมวด ๓ การสงเคราะห์เด็ก
มาตรา ๓๕ เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่หรือผู้มีหน้าที่คุ้มครองสวัสดิภาพเด็กตามมาตรา ๒๔ พบเห็น เด็กที่พึงได้รับการสงเคราะห์ตามมาตรา ๓๒ (๑) และ (๒) หรือได้รับแจ้งจากบุคคลตามมาตรา ๒๙ ให้สอบถาม เพื่อทราบข้อมูลเกี่ยวกับเด็ก
มาตรา ๓๖ ในระหว่างที่เด็กได้รับการสงเคราะห์ตามมาตรา ๓๓ (๒) (๔) หรือ(๖) หากปรากฎว่า เป็นเด็กที่เสี่ยงต่อการกระทําผิดและพึงได้รับการคุ้มครองสวัสดิภาพ ให้ปลัดกระทรวงหรือผู้ว่าราชการจังหวัด แล้วแต่กรณี มีอํานาจสั่งให้ใช้มาตรการคุ้มครองสวัสดิภาพแก่เด็กตามหมวด ๔ ได้
มาตรา ๓๔ ผู้ปกครองหรือญาติของเด็ก อาจนําเด็กไปขอรับการสงเคราะห์ที่กรมพัฒนาสังคมและ สวัสดิการหรือสํานักงานพัฒนาสังคมและสวัสดิการจังหวัด หรือที่สถานแรกรับ สถานสงเคราะห์ หรือสถานพัฒนา และฟื้นฟูของเอกชน เพื่อขอรับการสงเคราะห์ได้
มาตรา ๓๗ เมื่อสถานแรกรับ สถานสงเคราะห์ หรือสถานพัฒนาและฟื้นฟูได้รับตัวเด็กไว้ตาม มาตรา ๓๓ (๕) (๖) หรือ (๗) ให้ผู้ปกครองสวัสดิภาพรีบสืบเสาะและพินิจเกี่ยวกับตัวเด็กและครอบครัว และ เสนอความเห็นเกี่ยวกับวิธีการสงเคราะห์หรือคุ้มครองสวัสดิภาพเด็กแต่ละคนพร้อมด้วยประวัติไปยังปลัดกระทรวง หรือผู้ว่าราชการจังหวัด
มาตรา ๓๘ ในกรณีที่ปลัดกระทรวงหรือผู้ว่าราชการจังหวัดสั่งให้เด็กเข้ารับการสงเคราะห์โดย ผู้ปกครองไม่ยินยอมตามมาตรา ๓๓ วรรคสอง กรณีที่ผู้ปกครองของเด็กไม่เห็นด้วยกับกําหนดระยะเวลาตามมาตรา ๓๓ วรรคสาม หรือกรณีที่ผู้ปกครองยื่นคําร้องขอรับเด็กไปปกครองดูแลเองแต่ได้รับการปฏิเสธจากปลัดกระทรวง หรือผู้ว่าราชการจังหวัดตามมาตรา ๓๓ วรรคสี่ ผู้ปกครองย่อมมีสิทธินําคดีไปสู้ศาลตามมาตรา ๕ ในเขตท้องที่นั้น ภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันรับทราบคําสั่ง
มาตรา ๓๓ ในกรณีพนักงานเจ้าหน้าที่หรือผู้มีหน้าที่คุ้มครองสวัสดิภาพเด็กตามมาตรา ๒๔ ได้รับ แจ้งจากบุคคลตามมาตรา ๒๙ หรือพบเห็นเด็กที่พึงได้รับการสงเคราะห์ตามมาตรา ๓๒ ให้พิจารณาให้การ สงเคราะห์ตามวิธีการที่เหมาะสม
มาตรา ๓๙ ในกรณีที่ผู้ปกครองซึ่งได้รับเด็กกลับมาอยู่ในความดูแล มีพฤติการณ์น่าเชื่อว่าจะให้ การเลี้ยงดูโดยมิชอบแก่เด็กอีก ให้พนักงานเจ้าหน้าที่หรือผู้มีหน้าที่คุ้มครองสวัสดิภาพเด็กตามมาตรา ๒๔ ให้ คําแนะนําแก่ผู้ปกครอง หากผู้ปกครองไม่ปฏิบัติตามคําแนะนําก็ให้ยื่นคําขอต่อปลัดกระทรวง ผู้ว่าราชการจังหวัด
มาตรา ๓๒ เด็กที่พึงได้รับการสงเคราะห์
(๑) เด็กเร่ร่อน หรือเด็กกําพร้า
(๒) เด็กที่ถูกทอดทิ้งหรือพลัดหลง ณ ที่ใดที่หนึ่ง
(๓) เด็กที่ผู้ปกครองไม่สามารถอุปการะเลี้ยงดูได้ด้วยเหตุใดๆ เช่น ถูกจําคุก กักขัง พิการ ทุพพล ภาพ เจ็บป่วยเรื้อรัง ยากจน เป็นผู้เยาว์ หย่า ถูกทิ้งร้าง เป็นโรคจิตหรือโรคประสาท
(๔) เด็กที่ผู้ปกครองมีพฤติกรรมหรือประกอบอาชีพไม่เหมาะสมอันอาจส่งผลกระทบต่อ พัฒนาการทางร่างกายหรือจิตใจของเด็กที่อยู่ในความปกครองดูแล
(๕) เด็กที่ได้รับการเลี้ยงดูโดยมิชอบ ถูกใช้เป็นเครื่องมือในการกระทําหรือแสวงหาประโยชน์โดยมิ ชอบ ถูกทารุณกรรม หรือตกอยู่ในภาวะอื่นใดอันอาจเป็นเหตุให้เด็กมีความประพฤติเสื่อมเสียในทางศีลธรรมอันดี หรือเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายหรือจิตใจ
(๖) เด็กพิการ
(๗) เด็กที่อยู่ในสภาพยากลําบาก
(๘) เด็กที่อยู่ในสภาพที่จําต้องได้รับการสงเคราะห์ตามที่กําหนดในกฎกระทรวง
หมวด ๑ คณะกรรมการคุ้มครองเด็ก
มาตรา ๘ ให้สํานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ทําหน้าที่เป็น สํานักงานเลขานุการของคณะกรรมการ
มาตรา ๙ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระอยู่ในตําแหน่งคราวละสามปี กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจากตําแหน่งเพราะครบวาระอาจได้รับการแต่งตั้งอีกได้ แต่ต้องไม่เกิน สองวาระติดต่อกัน
มาตรา ๗ ให้มีคณะกรรมการคุ้มครองเด็กแห่งชาติ ประกอบด้วย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการ พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
มาตรา ๑๐ นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระตามมาตรา ๙ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจาก
ตําแหน่ง
ณ วันที่ ๒๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๖
มาตรา ๑๕ คณะกรรมการมีอํานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทํางานเพื่อปฏิบัติการตามที่ คณะกรรมการมอบหมาย ให้นําบทบัญญัติมาตรา ๑๓ มาใช้บังคับกับการประชุมของคณะอนุกรรมการหรือคณะทํางาน โดยนุโลม
มาตรา ๑๘ ให้นําบทบัญญัติมาตรา ๙ มาตรา ๑๐ มาตรา ๑๑ และมาตรา ๑๒ มาใช้บังคับกับการ ดํารงตําแหน่ง การพ้นจากตําแหน่ง การแต่งตั้งกรรมการแทน และการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตาม มาตรา ๑๖ และมาตรา ๑๗ โดยอนุโลม เว้นแต่อํานาจของรัฐมนตรีตามมาตรา ๑๐ (๓) และมาตรา ๑๑ ให้เป็น อํานาจของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครหรือผู้ว่าราชการจังหวัดแล้วแต่กรณี
มาตรา ๑๙ ให้นําบทบัญญัติมาตรา ๑๓ และมาตรา ๑๕ มาใช้บังคับกับการประชุมและการแต่งตั้ง คณะอนุกรรมการหรือคณะทํางานของคณะกรรมการคุ้มครองเด็กกรุงเทพมหานคร และคณะกรรมการคุ้มครองเด็ก จังหวัด โดยอนุโลม
มาตรา ๒๑ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ให้กรรมการและอนุกรรมการเป็นเจ้า พนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา ๒๐ คณะกรรมการคุ้มครองเด็กกรุงเทพมหานครและคณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวัด
นางสาวอีมาน อาแว
รหัส 6220160468 เลขที่ 25