Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างเสริมสุขภาพสำหรับผู้ใหญ่และวัยทำงาน (ปัญหาสุขภาพพฤติกรรมเสี่ยงของว…
การสร้างเสริมสุขภาพสำหรับผู้ใหญ่และวัยทำงาน
ลักษณะของวัยผู้ใหญ่และวัยทำงาน
วัยผู้ใหญ่ตอนต้นช่วงอายุ20-40ปี การพัฒนาการด้านร่างกายเริ่มสมบูรณ์เต็มที่ อวัยวะทุกอย่างทำงานสมบูรณ์ พร้อมก้าวสู่โลกของความเป็นตัวตนโดยสมบรูณ์ เป็นช่วงการแสวงหาครอบครัวใหม่ สังคมใหม่ เริ่มมีความรับผิดชอบต่อชีวิตคนอื่น
วัยผู้ใหญ่ตอนกลางช่วงอายุ40ปีขึ้นไป เป็นช่วงที่ร่างกายเสื่อมถอยลง หรือ เรียกว่าวัยทอง อาการต่างๆของหญิงชายวัยทองมีดังนี้ 1.ความเปลี่ยนแปลงทางด้านชีวะภาพ
2.ความเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจและอารมณ์
3.ความเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจและสังคม
ปัญหาสุขภาพพฤติกรรมเสี่ยงของวัยผู้ใหญ่และวัยทำงาน
ปัญหาพฤติกรรมการดำเนินชีวิต
ปัญหาอุบัติเหตุจากการจราจร
การเจ็บป่วยที่เกิดจากการประกอบอาชีพ
ปัญหาการเจ็บป่วยทางร่างกาย
ปัญหาสุขภาพจิต
ปัญหาการปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงในวัยทอง
ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับชีวิตสมรส
ปัญหาที่เกี่ยวกับฐานะเศรษฐกิจของครอบครัว
ปัญหาที่เกี่ยวกับการเลี้ยงดูบุตร
ปัญหาการปรับตัวของคนโสด
การสร้างเสริมสุขภาพวัยผู้ใหญ่และวัยทำงาน
พฤติกรรมการรับประทานอาหาร
ควรได้รับอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการครบถ้วน 5 หมู่ ไร้สารพิษ อาหารที่รับประทานต้องสามารถย่อย ดูดซึมได้ง่ายและซ่อมแซมเนื้อเยื่อที่เสื่อมสภาพได้ หากขาดสารอาหารจะพบว่ามีจิตใจหดหู่ หงุดหงิด สับสน อ่อนเพลีย จนถึงประสาทหลอน
พฤติกรรมการออกกำลังกาย
การออกกำลังกายจะช่วยให้อวัยวะต่างๆของร่างกายทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้การเผาผลาญพลังงานมีประสิทธิภาพ ไขมันใต้ผิวหนัง และหลอดเลือดยืดหยุ่นขึ้น การออกกำลังกายสม่ำเสมอจะช่วยให้สุขภาพจิตดี
การนอนหลับพักผ่อนที่เหมาะสม
การพักผ่อนเป็นสิ่งจำเป็นต่อร่างกาย อาจแบ่งการพักผ่อนออกเป็น 2 ลักษณะใหญ่ๆได้แก่
1.การพักผ่อนนอนหลับ
2.การพักผ่อนแบบกิจกรรมนันทนาการ
เช่น การเล่นกีฬา การปลูกต้นไม้ การดูหนัง การฟังดนตรี
การจัดการความเครียด
การพัฒนาทักษะในการเผชิญปัญหา จะเน้นการคิดวิเคราะห์หาแนวทางการแก้ไขปัญหา นอกจากนั้นการส่งเสริมการใช้กลไกลทางจิตช่วยป้องกันตนเองเหมาะสมในกานช่วยแก้ปัญหาที่ยากหรือไม่สามารถแก้ไขได้ กลไกลนี้จึงช่วยผ่อนคลายความเครียดได้
การดูแลสุขภาพและตรวจร่างกายสม่ำเสมอ
การตรวจสุขภาพอย่างสม่ำเสมอ มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาความผิดปกติ
ในปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงพยาธิสรีระ จะมีการเปลี่ยนแปลงค่อยเป็นค่อยไป อาการและอาการแสดงจะปรากฏในช่วงวัยผู้ใหญ๋ ดังนั้นจึงควรให้ความสนใจในสุขภาพของตนตลอดเวลา
พฤติกรรมการรับประทานยาเพื่อควบคุมโรคเรื้อรัง
คนไทยวัยผู้ใหญ่จำนวนมากเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังต่างๆ และต้องรับประทานยาตามแผน การรักษาอย่างต่อเนื่องปัญหาที่พบบ่อย ได้แก่ การลืมทานยา ทานยาไม่ครบ ดังนั้น ผู้ที่เจ็บป่วยเรื้งรังจึงต้อง สร้างพฤติกรรมการรับประทานยาที่ถูกต้อง
บทบาทของพยาบาล
ประเมินปัญหาสุขภาพ
การวางแผนปฏิบัติการพยาบาลหรือจัดทำโครงการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนปฏิบัติการพยาบาลหรือโครงการสร้างเสริมสุขภาพ
การสนับสนุนให้เกิดนโยบายการสร้างเสสริมสุขภาพในระดับต่างๆ
นางสาวนภวรรณ ภาระตะวัตร 624N46136