Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติ สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 (บทเฉพาะกาล (มาตรา 83…
พระราชบัญญัติ สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546
หมวด1 สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
ส่วนที่ 4 การดำเนินงานของคุรุสภา
มาตรา 27 ในการประชุม ถ้าประธานกรรมการคุรุสภาไม่อยู่ในที่ประชุมหรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้ที่ประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานในที่ประชุม
มาตรา 28 รัฐมนตรีจะเข้าร่วมประชุม และชี้แจงแสดงความเห็นในที่ประชุมคณะกรรมการคุรุสภา หรือจะส่งความเห็นเป็นหนังสือไปยังคุรุสภาในเรื่องใดๆ ก็ได้
มาตรา 26 ให้คณะกรรมการคุรุสภามีการประชุมอย่างน้อยเดือนละหนึ่งครั้ง การประชุมคณะกรรมการคุรุสภาต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด
มาตรา 29 ให้นำความใน มาตรา 26 และ มาตรา 27 มาใช้บังคับกับการประชุมของคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพหรือคณะอนุกรรมการโดยอนุโลม
มาตรา 30 ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้กรรมการคุรุสภา กรรมการมาตรฐานวิชาชีพ อนุกรรมการ หรือเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในการควบคุมการประกอบวิชาชีพเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 31 ให้กรรมการคุรุสภาและคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพมีอำนาจเรียกบุคคลใดๆ มาให้ถ้อยคำหรือแจ้งให้บุคคลใดๆ ส่งเอกสารหรือวัตถุพยานที่จำเป็นต้อการดำเนินงานตามอำนาจและหน้าที่
มาตรา 32 ให้กรรมการคุรุสภา กรรมการมาตรฐานวิชาชีพ อนุกรรมการและคณะทำงานได้รับเบี้ยประชุมและประโยชน์ตอบแทนอื่นตามระเบียบที่รัฐมนตรีกำหนด โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
มาตรา 33 กรรมการคุรุสภาตาม มาตรา 12 (3) (4) และ (5) จะดำรงตำแหน่งตาม มาตรา 21 (3) (4) และ (5) และ มาตรา 64 (3) และ (4) แล้วแต่กรณีคราวเดียวกันไม่ได้
มาตรา 34 ให้มีสำนักงานเลขานุการคุรุสภามีหน้าที่
(1) รับผิดชอบเกี่ยวกับการดำเนินงานของคุรุสภา
(2) ประสานและดำเนินการเกี่ยวกับกิจการอื่นที่คุรุสภามอบหมาย
(3) จัดทำรายงานประจำปีเกี่ยวกับการดำเนินงานเสนอต่อคุรุสภา
มาตรา 37 เลขาธิการคุรุสภามีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละสี่ปี และอาจได้รับการแต่งตั้งอีก แต่จะดำรงตำแหน่งเกินสองวาระติดต่อกันไม่ได้
ส่วนที่ 3 คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
มาตรา 22 การสรรหา การเลือก และการเลือกตั้งกรรมการมาตรฐานวิชาชีพตาม มาตรา 21 (3) (4) และ (5) ให้เป็นไปตามที่กำหนดในข้อบังคับของคุรุสภา
มาตรา 23 กรรมการมาตรฐานวิชาชีพตาม มาตรา 21(3) (4) และ (5) ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตาม มาตรา 13 มาตรา 14 มาตรา 15 แล้วแต่กรณี
มาตรา 23 กรรมการมาตรฐานวิชาชีพตาม มาตรา 21(3) (4) และ (5) ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตาม มาตรา 13 มาตรา 14 มาตรา 15 แล้วแต่กรณี
มาตรา 24 กรรมการมาตรฐานวิชาชีพตาม มาตรา 21 (1) (3) (4) และ (5) ให้อยู่ในตำแหน่งคราวละสี่ปี และอาจได้รับการแต่งตั้งอีก แต่จะดำรงตำแหน่งเกินสองวาระติดต่อกันไม่ได้เมื่อครบกำหนดวาระตามวรรคหนึ่ง ให้กรรมการซึ่งพ้นจากตำแหน่งตามวาระนั้นอยู่ในตำแหน่ง
มาตรา 25 คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพมีอำนาจหน้าที่
(4) ส่งเสริม ยกย่อง และพัฒนาวิชาชีพไปสู่ความเป็นเลิศในสาขาต่างๆ ตามที่กำหนดในข้อบังคับของคุรุสภา
(5) แต่งตั้งที่ปรึกษา คณะอนุกรรมการ หรือมอบหมายกรรมการมาตรฐานวิชาชีพเพื่อกระทำการใดๆ อันอยู่ในอำนาจและหน้าที่ของคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
(3) ส่งเสริม พัฒนา และเสนอแนะคณะกรรมการคุรุสภากำหนดมาตรฐาน และจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพ
(6) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กำหนดไว้ให้เป็นอำนาจ และหน้าที่ของคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชี
(2) กำกับดูแลการปฏิบัติตามมาตรฐานและจรรยาบรรณ ของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
(7) พิจารณาหรือดำเนินการในเรื่องอื่น ตามที่รัฐมนตรีหรือคณะกรรมการคุรุสภามอบหมาย
(1) พิจารณาการออกใบอนุญาตให้แก่ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา และการพักใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาต
ส่วนที่ 2 คณะกรรมการคุรุสภา
มาตรา 12 ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า คณะกรรมการคุรุสภา
มาตรา 13 ประธานกรรมการ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ต้องมีคุณสมบัติทั่วไป และไม่มีลักษณะต้องห้าม
มาตรา 15 นอกจากที่บัญญัติไว้ใน มาตรา 13 กรรมการที่มาจากผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาที่ดำรงตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา หรือผู้บริหารการศึกษา หรือบุคลากรทางการศึกษาอื่นต้องมีคุณสมบัติเฉพาะตาม มาตรา 14 (1) และต้องเป็นผู้มีประสบการณ์ด้านปฏิบัติการสอน และมีประสบการณ์ในตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา หรือผู้บริหารศึกษา หรือบุคลากรทางการศึกษาอื่นรวมกันไม่น้อยกว่าสิบปี
มาตรา 16 กรรมการตาม มาตรา 12 (1) (3) (4) และ (5) ให้อยู่ในตำแหน่งคราวละสี่ปีและอาจได้รับการแต่งตั้งอีก แต่จะดำรงตำแหน่งเกินสองวาระติดต่อกันไม่ได้
มาตรา 17 นอกจากการพ้นตำแหน่งตามวาระ กรรมการตาม มาตรา 12 (1) (3) (4) และ (5) พ้นจากตำแหน่งเมื่อ
(2) ลาออก
(3) รัฐมนตรีโดยอนุมัติของคณะรัฐมนตรีให้ออกเพราะบกพร่องต่อหน้าที่ มีความประพฤติเสื่อมเสียหรือหย่อนความสามารถ
(1) ตาย
(4) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามอย่างใดอย่างหนึ่งตาม มาตรา 13 มาตรา 14 หรือ มาตรา 15 แล้วแต่กรณี
มาตรา 18 ก่อนครบวาระการดำรงตำแหน่งของกรรมการตาม มาตรา 12 (1) (3) (4) และ (5) ไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน ให้รัฐมนตรีแต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาคณะหนึ่งจำนวนสิบเอ็ดคนจากคณะกรรมการคุรุสภา
มาตรา 20 ให้คณะกรรมการคุรุสภามีอำนาจหน้าที่
(5) แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อกระทำการใดๆ อันอยู่ในอำนาจและหน้าที่ของคณะกรรมการคุรุสภา
(5) แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อกระทำการใดๆ อันอยู่ในอำนาจและหน้าที่ของคณะกรรมการคุรุสภา
(4) เร่งรัดให้พนักงานเจ้าหน้าที่ส่วนราชการ หรือคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ ปฏิบัติตามอำนาจและหน้าที่ที่กฎหมายกำหนด
(7) กำหนดนโยบายการบริหารงาน และให้ความเห็นชอบแผนการดำเนินงานของสำนักงานเลขาธิการคุรุสภา
(3) พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์คำสั่งของคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพตาม มาตรา 54
(8) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกำหนดให้ไว้เป็นอำนาจ และหน้าที่ของคณะกรรมการคุรุสภา
2) ให้คำปรึกษาและแนะนำแก่คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
(9) พิจารณาหรือดำเนินการในเรื่องอื่นตามที่รัฐมนตรีมอบหมาย
(1) บริหารและดำเนินการตามวัตถุประสงค์และอำนาจหน้าที่ของคุรุสภา ซึ่งกำหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้
ส่วนที่ 6 สมาชิกคุรุสภา
มาตรา 58 สมาชิกของคุรุสภามีสองประเภท
(1) สมาชิกสามัญ
(1) สมาชิกสามัญ
มาตรา 59 สมาชิกสามัญต้องเป็นผู้ไม่มีลักษณะต้องห้ามตาม มาตรา 13 (ข) (1) (2) และ (3) และเป็นผู้มีใบอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ สมาชิกกิตติมศักดิ์เป็นผู้ทรงคุณวุฒิซึ่ง คณะกรรมการคุรุสภาแต่งตั้งโดยมติเป็นเอกฉันท์
มาตรา 60 สิทธิและหน้าที่ของสมาชิกสามัญ
(2) เลือก รับเลือกตั้ง หรือรับแต่งตั้งเป็นกรรมการตาม มาตรา 12 หรือ มาตรา 21
(3) ชำระค่าธรรมเนียม ตามประกาศของคุรุสภา
(1) แสดงความเห็นและซักถามเป็น หนังสือเกี่ยวกับกิจการของคุรุสภาต่อคณะกรรมการเพื่อพิจารณา
(4) ผดุงไว้ซึ่งเกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพ และปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้สมาชิกกิตติมศักดิ์ มีสิทธิและหน้าที่เช่นเดียวกับสมาชิกสามัญ เว้นแต่สิทธิและหน้าที่ตาม (2) และ (3)
มาตรา 61 สมาชิกภาพของสมาชิกย่อมสิ้นสุดเมื่อ
(1) ตาย
(2) ลาออก
(3) คณะกรรมการคุรุสภามีมติให้พ้นจากสมาชิกภาพเพราะขาดคุณสมบัติตาม มาตรา 59 สำหรับกรณีสมาชิกสามัญ
(4) คณะกรรมการคุรุสภามีมติถอดถอนการเป็นสมาชิกกิตติมศักดิ์
(5) ถูกเพิกถอนใบอนุญาต
ส่วนที่ 1 บททั่วไป
มาตรา 9 คุรุสภามีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(1) กำหนดมาตรฐานวิชาชีพ ออกและเพิกถอนใบอนุญาต กำกับดูแลการปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ รวมทั้งการพัฒนาวิชาชีพ
(2) กำหนดนโยบายและแผนพัฒนาวิชาชีพ
(3) ประสาน ส่งเสริมการศึกษาและการวิจัยเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพ
มาตรา 9 คุรุสภามีอำนาจหน้าที่
(1) กำหนดมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ
(2) ควบคุมความประพฤติและการดำเนินงาน ของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาให้เป็นไป ตามมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ
(3) ออกใบอนุญาตให้แก่ผู้ขอประกอบวิชาชีพ
(4) พักการใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาต
(5) สนับสนุนส่งเสริมและพัฒนาวิชาชีพ ตามมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ
(6) ส่งเสริม สนับสนุน ยกย่อง และผดุงเกียรติผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
(7) รับรองปริญญา ประกาศนียบัตร และวุฒิบัตรของสถาบันต่างๆ ตามมาตรฐานวิชาชีพ
(8) รับรองความรู้และประสบการณ์ทางวิชาชีพ รวมทั้งความชำนาญในการประกอบวิชาชีพ
(9) ส่งเสริมการศึกษาและการวิจัยเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพ
(10) เป็นตัวแทนผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาของประเทศไทย
(11) ออกข้อบังคับของคุรุสภาว่าด้วย
(12) ให้คำปรึกษา หรือเสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับนโยบายหรือปัญหาการพัฒนาวิชาชีพ
(13) ให้คำแนะนำหรือเสนอความเห็น ต่อรัฐมนตรีเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพหรือการออกกฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศต่างๆ
(14) กำหนดให้มีคณะกรรมการเพื่อกระทำการใดๆ อันอยู่ในอำนาจหน้าที่ของคุรุสภา
(15) ดำเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของคุรุสภา
มาตรา 8 คุรุสภามีวัตถุประสงค์
มาตรา 10 คุรุสภาอาจมีรายได้
(3) ผลประโยชน์จากการจัดการทรัพย์สินและการดำเนินกิจการของคุรุสภา
(4) เงินและทรัพย์สินซึ่งมีผู้อุทิศให้แก่คุรุสภา
(5) ดอกผลของเงินและทรัพย์สินตาม (1) (2) (3) และ (4)
(2) เงินอุดหนุนจากงบประมาณแผ่นดิน
(1) ค่าธรรมเนียมตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา 7 ให้มีสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา เรียกว่า "คุรุสภา" มีวัตถุประสงค์และอำนาจหน้าที่ตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้ มีฐานะเป็นนิติบุคคล ในกำกับของกระทรวงศึกษาธิการ
มาตรา 11 ค่าธรรมเนียมตามพระราชบัญญัตินี้ ให้เป็นไปตามประกาศของรัฐมนตรี ทั้งนี้ ต้องไม่เกินอัตราท้ายพระราชบัญญัตินี้
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2546
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
มาตรา 3 ให้ยกเลิก
(3) พระราชบัญญัติ ครู (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2509
(4) พระราชบัญญัติ ครู (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2519
(5) พระราชบัญญัติครู (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2521
(2) พระราชบัญญัติ ครู (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2495
(6) พระราชบัญญัติ ครู(ฉบับที่ 6) พ.ศ.2523
(1) พระราชบัญญัติ ครู พ.ศ.2488
มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้
มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป
มาตรา 5 การประกอบวิชาชีพต้องอยู่ภายใต้บังคับหลักเกณฑ์การมีใบอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า "พระราชบัญญัติ สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546
มาตรา 6 ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจออกกฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศ
ส่วนที่ 5 การประกอบวิชาชีพควบคุม
มาตรา 46 ห้ามมิให้ผู้ใดแสดงด้านวิธีใดๆ ให้ผู้อื่นเข้าใจว่าตนมีสิทธิหรือพร้อมจะประกอบวิชาชีพ โดยไม่ได้รับใบอนุญาตจากคุรุสภา และห้ามมิให้สถานศึกษารับผู้ไม่ได้รับใบอนุญาตเข้าประกอบวิชาชีพควบคุมในสถานศึกษา เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากคุรุสภา
มาตรา 47 ผู้ซึ่งได้รับใบอนุญาตต้องประกอบวิชาชีพภายใต้บังคับแห่งข้อจำกัดและเงื่อนไขตามข้อบังคับของคุรุสภา
มาตรา 45 การขอรับใบอนุญาต การออกใบอนุญาต กำหนดอายุใบอนุญาต การต่ออายุใบอนุญาต การขอรับใบแทนใบอนุญาต และการออกใบแทนใบอนุญาต ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กำหนดในข้อบังคับของคุรุสภาผู้ขอรับใบอนุญาต ผู้ขอต่ออายุใบอนุญาตหรือผู้ขอรับใบแทนใบอนุญาต
มาตรา 47 ผู้ซึ่งได้รับใบอนุญาตต้องประกอบวิชาชีพภายใต้บังคับแห่งข้อจำกัดและเงื่อนไขตามข้อบังคับของคุรุสภา
มาตรา 44 ผู้ขอรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพควบคุม ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม
มาตรา 43 ให้วิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษาเป็นวิชาชีพควบคุมตามพระราชบัญญัตินี้ การกำหนดวิชาชีพควบคุมอื่นให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
มาตรา 48 ผู้ซึ่งได้รับใบอนุญาตต้องประพฤติตนตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพ ตามที่กำหนดในข้อบังคับของคุรุสภา
มาตรา 49 ให้มีข้อบังคับว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ ประกอบด้วย
(1) มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ
(2) มาตรฐานการปฏิบัติงาน
(3) มาตรฐานการปฏิบัติตน
มาตรา 50 มาตรฐานการปฏิบัติตน ให้กำหนดเป็นข้อบังคับว่าด้วยจรรยาบรรณของวิชาชีพประกอบด้วย
(2) จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ
(3) จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ
(1) จรรยาบรรณต่อตนเอง
(4) จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
(5) จรรยาบรรณต่อสังคม
หมวด 2 คณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
ส่วนที่ 2 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา 67 ให้มีสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา มีฐานะเป็นนิติบุคคล ในกำกับของกระทรวงศึกษาธิการ มีอำนาจและหน้าที่
มาตรา 68 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษามีรายได้
มาตรา 69 ให้สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา มีเลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาคนหนึ่งบริหารกิจการของสำนักงาน
มาตรา 70 เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา ต้องเป็นผู้สามารถทำงานให้สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาได้เต็มเวลา
มาตรา 71 เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา มีหน้าที่บริหารกิจการของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการ
มาตรา 72 เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา 73 ในกิจการที่เกี่ยวกับบุคคลภายนอก ให้เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา 74 ให้คณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครู และบุคลากรทางการศึกษาเป็นผู้กำหนดอัตราเงินเดือน และผลประโยชน์ตอบแทนอื่น ของเลขาธิการคณะกรรมกมรส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
ส่วนที่ 1 บททั่วไป
มาตรา 64 ให้คณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา 65 กรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาตาม มาตรา 64 (3) และ (4) ต้องมีคุณสมบัติทั่วไป และไม่มีลักษณะต้องห้ามตาม มาตรา 13 มาตรา 14 และ มาตรา 15 แล้วแต่กรณี
มาตรา 63 คณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษามีอำนาจหน้าที่
มาตรา 66 การประชุมของคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาให้นำความใน มาตรา 26 และ มาตรา 27 มาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา 62 ให้มีคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวสัสดิการครู และบุคลากรทางการศึกษาทำหน้าที่บริหารงานสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการ และสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาโดยมีวัตถุประสงค์
หมวด 3 การกำกับดูแล
มาตรา 76 ให้คุรุสภาเสนอรายงานประจำปีเกี่ยวกับผลการดำเนินงานด้านต่างๆ ของคุรุสภา รวมทั้งรายงานการเงินและบัญชี ตลอดจนเสนอแผนดำเนินงาน แผนการเงิน และงบประมาณของปีต่อไปต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อทราบ
มาตรา 77 ให้สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินตรวจสอบการปฏิบัติงานด้านการเงินการบัญชีของคุรุสภาเป็นประจำทุกปี แล้วรายงานให้รัฐสภาทราบ
มาตรา 75 ให้รัฐมนตรีมีอำนาจหน้าที่
(2) สั่งเป็นหนังสือให้กรรมการชี้แจงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับกิจการของคุรุสภา และสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา และจะให้ส่งเอกสารเกี่ยวกับการดำเนินงานหรือรายงานการประชุมของคณะกรรมการคุรุสภา และคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาก็ได้
(3) สั่งเป็นหนังสือให้คุรุสภาและคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครู และบุคลากรทางการศึกษาระงับหรือแก้ไขการกระทำใดๆ ที่ปรากฏว่าขัดต่อวัตถุประสงค์ของคุรุสภา และคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา กฎหมาย หรือข้อบังคับคุรุสภา และคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
(1) กำกับดูแลการดำเนินงานของคุรุสภา และสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการ และสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา รวมทั้งจัดสรรงบประมาณของรัฐให้คุรุสภา และสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
หมวด 4 บทกำหนดโทษ
มาตรา 79 ผู้ใดฝ่าฝืน มาตรา 46 หรือ มาตรา 56 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา 78 ผู้ใดฝ่าฝืน มาตรา 43 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
บทเฉพาะกาล
มาตรา 83 ให้โอนบรรดากิจการ เงิน ทรัพย์สิน หนี้ สิทธิต่างๆ ของคุรุสภาตามพระราชบัญญัติครู พ.ศ.2488
มาตรา 84 ผู้ใดเป็นครูซึ่งเป็นสมาชิกของคุรุสภาตามพระราชบัญญัติครู พ.ศ.2488 อยู่แล้วก่อนพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ มีสิทธิได้รับใบอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ หลักเกณฑ์และวิธีการออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูให้เป็นไปตามข้อบังคับของคุรุสภา
มาตรา 82 ให้เลขาธิการคุรุสภาตามพระราชบัญญัติครู พ.ศ.2488 ปฏิบัติหน้าที่เลขาธิการคุรุสภา และเลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการ
มาตรา 85 ในวาระเริ่มแรก ให้คุรุสภาออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูแก่ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาที่ดำรงตำแหน่งครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา และบุคลากรทางการศึกษาอื่น
มาตรา 81 ให้คณะกรรมการคุรุสภาตาม มาตรา 12 และคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาตาม มาตรา 64
มาตรา 86 ในวาระเริ่มแรก มิให้นำความใน มาตรา 14 (1) มาใช้บังคับแก่กรรมการคุรุสภา และกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาจนกว่าคุรุสภาจะออกใบอนุญาต
มาตรา 80 ในวาระเริ่มแรก ให้คณะกรรมการอำนวยการคุรุสภาเท่าที่มีอยู่ตาม พระราชบัญญัติครู พ.ศ.2488 ปฏิบัติหน้าที่คณะกรรมการคุรุสภาและคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการ
มาตรา 88 ให้วุฒิปริญญาทางการศึกษา หรือปริญญาอื่นที่ ก.ค. กำหนดให้เป็นคุณวุฒิที่ใช้ในการบรรจุและแต่งตั้งเป็นข้าราชการครูก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ เป็นคุณวุฒิในการขอรับใบอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ ไม่เกินสามปีนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
มาตรา 89 ให้สมาชิกคุรุสภาตามพระราชบัญญัติครู พ.ศ.2488 ที่ได้รับสิทธิประโยชน์และสวัสดิการต่างๆ อยู่ก่อนพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ คงมีสิทธิได้รับสิทธิประโยชน์และสวัสดิการนั้นๆ ต่อไป
มาตรา 90 ในระหว่างที่ยังมิได้ออกคำสั่ง ประกาศ หรือระเบียบเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ให้นำคำสั่ง ประกาศ หรือระเบียบที่ออกตามพระราชบัญญัติครู พ.ศ.2488 ซึ่งไม่ขัดหรือแย้งกับพระราชบัญญัตินี้ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
นางสาวอีมาน อาแว
รหัส 6220160468 เลขที่ 25