Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความดันโลหิตสูงในหญิงตั้งครรภ์ (Pregnancy Induced Hypertension :…
ความดันโลหิตสูงในหญิงตั้งครรภ์
(Pregnancy Induced Hypertension : PIH)
:check: ความหมาย
:pencil2: ภาวะที่มีความดันโลหิตสูงครั้งแรกในระยะตั้งครรภ์
(ก่อนตั้งครรภ์ความดันโลหิตปกติ)
โดยความดันโลหิตมากกว่า 140/90 mmHg
:star: ความดันโลหิตสูงเนื่องจากตั้งครรภ์
(Pregnancy Induced Hypertension : PIH)
:pencil2: เกิดในช่วงหลังอายุครรภ์ 20 สัปดาห์ไปแล้ว
:pencil2: ระดับความดันโลหิตจะลดลงสู่ภาวะปกติ
ภายใน 12 สัปดาห์
:star: ความดันโลหิตสูงชนิดเรื้อรัง
(Chronic Hypertension)
:pencil2: เกิดก่อนตั้งครรภ์ หรือ ขณะตั้งครรภ์แต่อายุครรภ์น้อยกว่า 20 สัปดาห์
:pencil2: ระดับความดันโลหิตสูงต่อเนื่องไปเกิน 12 สัปดาห์หลังคลอด
:check: ชนิดของความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
:star: Gestational Hypertension
:red_flag: ความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภ์
:red_flag: ไม่พบโปรตีนในปัสสาวะ หรือ Trace
หรือ Protein urea < 300 mg
:star: Preeclampsia
:red_flag: ความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภ์
ร่วมกับมีโปรตีนในปัสสาวะ
:red_flag: Mild preeclampsia
ความดันโลหิต มากกว่าหรือเท่ากับ 140/90 mmHg
Protein urea มากกว่าหรือเท่ากับ 300 mg
/ปัสสาวะ 24 ชม. หรือ dipstick 1+
:red_flag: Severe preeclampsia
ความดันโลหิต มากกว่าหรือเท่ากับ 160/110 mmHg
Protein urea มากกว่าหรือเท่ากับ 2 g
/ปัสสาวะ 24 ชม. หรือ dipstick 2+
มีอาการ ตาพร่ามัว ปวดศีรษะ จุกแน่นลิ้นปี่
ปัสสาวะออกน้อย(< 25 ml/hr) หรือมีอาการอย่างใดอย่างหนึ่ง
serum creatinin > 1.2 g/dL
ALT, AST เพิ่มขึ้น
มีภาวะปอดบวน้ำ(Pulmonary edema)
:red_flag: Eclampsia
ชัก หรือเกร็ง โดยไม่ได้เกิดจากสาเหตุอื่น
:star: Chronic Hypertension
มักนำไปสู่ Superimpose preeclampsia
มีความดันโลหิตสูงชนิดเรื้อรังมาก่อนแล้ว
Protein urea มากกว่าเท่ากับ 300 mg
/ปัสสาวะ 24 ชม. หรือ dipstick 1+
:check: สาเหตุ
:!: การขาดสารอาหาร
:!: พันธุกรรม
:!: กลไกการสร้างภูมิคุ้มกัน
:!: การหดเกร็งของเส้นเลือด
:!: การเปลี่นแปลงของผนังหลอดเลือดชั้นใน
:check: ปัจจัยเสี่ยง
:!!: หญิงตั้งครรภ์อายุน้อยกว่า 25 ปี
และหญิงตั้งครรภ์ที่คลอดมาแล้วหลายครั้งที่อายุมากกว่า 35 ปี
:!!: บุคคลในครอบครัวที่มีภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์มาก่อน
:!!: จำนวนของการตั้งครรภ์ มักพบในครรภ์แรก
:!!: มีโรคประจำตัว เบาหวาน หรือ โรคไต
จะมีภาวะความดันดลหิตสูงร่วมด้วย
:!!: ครรภ์แฝด ครรภ์ไข่ปลาอุก ทารกบวมน้ำ
:check: ผลกระทบ
:star: มารดา
:red_flag: ภาวะหลุดลอกของเรตินา
:red_flag: Congestive heart failure
:red_flag:ตับวาย จากเลือดออกมาในตับ
:red_flag: อันตรายจากการชัก
:red_flag: รกลอกตัวก่อนกำหนด
:star: ทารก
:red_flag: IUGR
:red_flag: Birth Asphyxia
:red_flag: Abortion
:red_flag: Stillbirth
:red_flag: Preterm
:check: อาการและอาการแสดง
:warning: ปัสสาวะออกลดลง มีโปรตีนในปัสสาวะ
หน้าหรือมือบวม
:warning: มองเห็นเป็นจุดดำ และการมองเห็นภาพ
เปลี่ยนแปลงไป
:warning: ปวดหัว หายใจลำบาก ความดันโลหิตสูง
เกล็ดเลือดต่ำ การทำงานของตับผิดปกติ ปวดบริเวณลิ้นปี่
:warning: คลื่นไส้ อาเจียน ในช่วงไตรมาสต์ 2 ของการตั้งครรภ์ น้ำหนักขึ้นอย่างรวดเร็ว
:check: การพยาบาล
ระยะคลอด
:lock: ดูแลให้ได้รับยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
:lock: ให้มารดานอนตะแคงซ้าย
:lock: ให้ MgSO4 ป้องกันการชัก
ระยะหลังคลอด
:lock: ประเมินการสูญเสียเลือด
:lock: ดูแลให้ได้รับ MgSO4 จนถึง 24 ชม.หลังคลอด
:lock: ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะ severe preeclampsia อย่างน้อย 24 ชม.
ระยะตั้งครรภ์
:lock: ดูแลให้ได้รับยาลดความดันโลหิตตามคำสั่งของแพทย์
:lock: ดูแลการรับประทานอาหาร โดยลดปริมาณอาหารเค็ม
:lock: นอนตะแคงซ้าย เพื่อส่งเสริมการไหลเวียนของโลหิตไปเลี้ยงรกและทารก
:lock: พักผ่อนให้เพียงพอ จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบ
:lock: สังเกตอาการคลื่นไส้ อาเจียน ปวดหัว ตาพร่ามัว ปวดจุกเสียดบริเวณลิ้นปี่ ชายโครงขวา
:lock: ป้องกันภาวะ Eclampsia ให้ได้รับยา MgSO4
นศพต.ชุติรัตน์ สุกใส ชั้นปีที่ 3 เลขที่ 11