Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ ๑๗ พรพราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ.๒๕๔๖ (มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้…
บทที่ ๑๗ พรพราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ.๒๕๔๖
มาตรา ๑ พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ.๒๕๔๖
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
มาตรา ๓ ให้ยกเลิก
ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๑๓๒ ลงวันที่ ๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๑๕
ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๙๔ ลงวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๕
มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้
นักศึกษา หมายความว่า เด็กซึ่งกำลังรับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
เด็กพิการ หมายความว่า เด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกาย สมอง สติปัญญา
บิดา มารดา หมายความว่า บิดา มารดาของเด็กไม่ว่าจะสมรถกันหรือไม่
ผู้ปกครอง หมายความว่า บิดา มารดา ผู้รับบุตรบุญธรรม
เด็กกำพร้า หมายความว่า เด็กที่บิดา มารดา เสียชีวิต
เด็กเร่รอน หมายความว่า เด็กที่ไม่มีบิดา มารดา ผู้ปกครอง
พนักงานเจ้าหน้าที่ หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
ทารุณกรรม หมายความว่า การกระทำหรือละเว้นการกระทำจนเป็นเหตุให้เด็กเสื่อมเสียเสรีภาพเกิดอันตรายแก่ร่างกาย และจิตใจ
เด็ก หมายความว่า บุคคลซึ่งมีอายุต่ำกว่าสิบแปดปีบริบูรณ์
รัฐมนตรี หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติ
ผู้ว่าราชการจังหวัด หมายความว่า ผู้ว่าราชการกรุงเทพและผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากผู้ว่าราชการจังหวัด
ปลัดกระทรวง หมายความว่า ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
สถานสงเคราะห์ หมายความว่า สถานที่ให้การอุปการะเลี้ยงดูและพัฒนาเด็กที่จำต้องได้รับการสงเคราะห์
สถานพินิจ หมายความว่า สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
นักเรียน หมายความว่า เด็กซึ่งกำลังรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สถานแรกรับ หมายความว่า สถานที่รับเด็กไว้อุปการะเป็นการชั่วคราวเพื่อสืบเสาะพินิจเด็กและครอบครัว
สถานรับเลี้ยงเด็ก หมายความว่า สถานที่รับเลี้ยงและพัฒนาเด็กที่มีอายุไม่เกินหกปีบริบูรณ์
ครอบครัวอุปถัมภ์ หมายความว่า บุคคลที่รับเด็กไว้อุปการะเลี้ยงดูอย่างบุตร
มาตรา ๕ ให้ศาลที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีเยาวชนและครอบครัวตามกฎหมาย
มาตรา ๖ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
หมวด ๑ คณะกรรมการคุ้มครองเด็ก
มาตรา ๗ ให้มีคณะกรรมการคุ้มครองเด็กแห่งชาติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมแลความมั่นคงของมนุษย์ ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคม ปลัดกระทรวงมหาดไทย
มาตรา ๘ ให้สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ทำหน้าที่
พัฒนาระบบ รูปแบบ และวิธีการ ตลอดจนให้บริการด้านสงเคราะห์ คุ้มครองสวัสดิภาพ
รวบรวมผลการวิเคราะห์ วิจัย ดำเนินการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบาย
ประสานงานและร่วมมือกับส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐและเอกชน
ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการหรือตามที่คณะกรรมการมอบหมาย
ปฏิบัติงานธึรการทั่วไปของคณะกรรมการ
มาตรา ๙ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละสามปี
มาตรา ๑๐ นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระมาตรา ๙ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตำแหน่ง เมื่อ
ได้รับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก
เป็นบุคคลล้มละลาย
รัฐมนตรีให้ออกเพราะบกพร่องหรือไม่สุจริตต่อหน้าที่
เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสหมือนไร้ความสามารถ
ลาออก
ขาดการประชุมติดต่อกันสามครั้งโดยไม่มีเหตุอันสมควร
ตาย
มาตรา ๑๑ ในกรณีที่กรรมการผู้มรงคุณวุฒิพ้นจากตำแหน่งครบวาระให้รัฐมนตรีแต่งตั้งบุคคลซึ่งมีคุณสมบัติเช่นเดียวกัน
มาตรา ๑๒ ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิดำรงตำแหน่งครบวาระแล้ว ให้กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่พ้นจากตำแหน่งปฏิบัติหน้าที่ไปพลางก่อน
มาตรา ๑๓ การประชุมคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด จึงเป็นองค์ประชุม
มาตรา ๑๔ คณะกรรมการมีอำนาจและหน้าที่
เสนอความเห็นต่อรัฐมนตรีในการออกกฎกระทรวงและระเบียบเพื่อปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ
วางระเบียบโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลังเกี่ยวกับการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน
เสนอความเห็นต่อรัฐมนตรีเกี่ยวกับนโยบาย แผนงาน
วางระเบียบเกี่ยวกับวิธีการดำเนินการคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก
ให้คำปรึกษา แนะนำ และประสานงานแก่หน่วยงานของรัฐและเอกชนที่ปฏิบัติงาน
ติดตาม ประเมินผลและตรวจสอบการดำเนินงานของคณะกรรมการคุ้มครองเด็ก
วางหลักเกณฑ์ในการแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่
ดำเนินการอื่นที่เกี่ยวกับการสงเคราะห์ คุ้มครองสวัสดิภาพ
มาตรา ๑๖ ให้มีคณะกรรมการคุ้มครองเด็กกรุงเทพ
มาตรา ๑๗ ให้มีคณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวัด
มาตรา ๑๘ ให้นำบทบัญญัติ มาตรา ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ มาใช้บังคับกับการดำรงตำแหน่ง การพ้นจากตำแหน่ง การแต่งตั้งกรรมการแทน
มาตรา ๑๙ ให้นำบทบัญญัติมาตรา ๑๓ ๑๕ มาใช้บังคับกับการประชุมและการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการคณะทำงาน คุ้มครองเด็ก
มาตรา ๒๐ คณะกรรมการคุ้มครองเด็กกรุงเทพ เด็กจังหวัด มีอำนาจหน้าที่
ให้คำปรึกษา แนะนำ และประสานงานแก่หน่วยงานของรัฐและเอกชนที่ปฏิบัติงาน
กำหนดแนวทางการสงเคราะห์ คุ้มครองสวัดิภาพ
เสนอความเห็นต่อรัฐมนตรีเกี่ยวกับนโยบาย แผนงาน งบประมาณ
จัดหาทุนเพื่อการสงเคราะห์ ส่งเสริมความพฤติเด็ก
ตรวจสอบหรือเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องมาชี้แจงกรณีปฏิบัติต่อเด็กโดยมิชอบ
เรียกเอกสารหรือพยานหลักฐานใดๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อประกอบการวินิจฉัยในการปฏิบัติหน้าที่
ติดตามประเมินผลและตรวจสอบการดำเนินงานเกี่ยวกับการสงเคราะห์
ดำเนินการอื่นใดตามที่คณะกรรมการมอบหมาย
หมวดที่ ๒ การปฏิบัติต่อเด็ก
มาตรา ๒๒ การปฏิบัติต่อเด็กำม่ว่ากรณีใด ให้คำนึงถึงประโยชน์สูงสุดของเด็กเป็นสำคัญไม่ให้มีการเลือกปฏิบัติโดยเป็นธรรม
มาตรา ๒๓ ผู้ปกครองต้องให้การอุปการะเลี้ยงดู อบรมสั่งสอน และพัฒนาเด็กที่อยู่ในความปกครอดูแล
มาตรา ๒๔ ปลัดกระทรวง ปผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้อำนวยการเขต นายอำเภอ ปลัดอำเภอ เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอมีหน้าที่คุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก
มาตรา ๒๕ ผู้ปกครองต้องไม่กระทำการ
จงใจหรือละเลยไม่ให้สิ่งที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตหรือสุขภาพจนเกิดอันตรายแก่ร่างกายหรือจิตใจของเด็ก
ปฏิบัติต่อเด็กในลักษณะที่เป็นการขัดขวางการเจริยเติบโตของเด็ก
ละทิ้งเด็กไว้ ณ สถานที่โดยไม่จัดให้มีการป้องกันดูแล
ปฏิบัติต่อเด็กในลักษณะที่เป็นการเลี้ยงดูโดยมิชอบ
ทอดทิ้งเด็กไว้ในสถานรับเลี้ยงเด็กหรือสถานพยาบาลหรือไว้กับบุคคลที่รับจ้างเด็กโดยไม่เจตนาที่จะไม่รับเด็กคืน
มาตรา ๒๖ ภายใต้บังคับบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ไม่ว่าเด็กจะยิยยอมหรือไม่ห้ามมิให้ผู้ใดกระทำการ
ใช้ จ้าง หรือวานเด็กให้ทำงานหรือกระทำการอันอาจเป็นอันตรายแก่ร่างกายหรือจิตใจมีผลกระทบต่อการเจริญเติบโต
บังคับ ขู่เข็ญ ชักจูง ส่งเสริม หรือยิยยอมให้เด็กเล่นกีฬาเพื่อแสวงหาประโยชน์ทางการค้าอันมีลักษณะเป็นการขัดขวางต่อการเจริญเติบโต
ใช้หรือยิยยอมให้เด็กเล่นการพนันไม่ว่าชนิดใดหรือเข้าไปในสถานที่เล่นการพนัน
บังคับ ขู่เข็ญ ชักจูง ส่งเสริม หรือยิยยอมให้เด็กแสดงหรือกระทำการอันมีลักษณะลามกอนาจาร
จำหน่าย แลกเปลี่ยน หรือให้สุราหรือบุหรี่แก่เด็ก
กระทำหรือละเว้นการกระทำอันเป็นการทารุณกรรมต่อร่างกายหรือจิตใจของเด็ก
จงใจหรือละเลยไม่ให้สิ่งจำเป็นแก่การดำรงชีวิตหรือการรักษาพยาบาลแก่เด็กที่อยู่ในความดูแลของตน
บังคับ ขู่เข็ญ ชักจูง ส่งเสริม หรือยิยยอมให้เด็กประพฤติตนไม่สมควรทำให้เด็กมีความประพฤติเสี่ยงต่อการกระทำ
โฆษณาทางสื่อมวลชนหรือเผยแพร่ด้วยประการใด เพื่อรับเด็กหรือยกเด็กให้แก่บุคคลอื่น
บังคับ ขู่เข็ญ ชักจูง ส่งเสริม หรือยิยยอมกระทำด้วยประการใดให้เด็กไปเป็นขอทาน เด็กเร่ร่อน
มาตรา ๒๗ ห้ามมิให้ผู้ใดโฆษณาหรือเผยแพร่ืทางสื่อมวลชนสื่อสารสนเทศประเภทต่างๆ
มาตรา ๒๘ ในกรณีผู้ปกครองตกอยู่ในสภาพไม่อาจให้การอุปการะเลี้ยงดู อบรม สั่งสอน พัฒนาเด็กได้ไม่ว่าด้วยเหตุใด
มาตรา๒๙ ผู้ใดพบเห็นเด็กตกอยู่ในสภาพจำต้องได้รับการสงเคราะห์หรือคุ้มครองสวัสดิภาพ
มาตรา ๓๐ เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจหน้าที่
ออกคำสั่งเป็นหนังสือให้ผู้ปกครองของเด็ก
เข้าไปในสถานที่อยู่อาศัยของผู้ปกครอง สถานที่ประกอบนายจ้างของเด็ก
มีหนังสือเรียกผู้ปกครอง หรือบุคคลอื่นใดมาให้ถ้อยคำหรือข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสภาพความเป็นอยู่
มอบตัวเด็กให้แก้ผู้ปกครองพร้อมกับแนะนำตักเตียนผู้ปกครองให้ดูแลและอุปการะเลี้ยงดูเด็กในทางที่ถูกต้อง
ซักถามเด็กเมื่ออมีเหตุอันควรสงสัยว่าเด็กจำต้อได้รับการสงเคราะห์หรือคุ้มครองสวัสดิภาพ
ทำรายงานเกี่ยวกับตัวเด็กเพื่อมอบให้แก่สถานแรกรับในกรณีการส่งเด็กไปยังสถานที่แรกกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
เข้าไปในเคหสถาน สถานที่ใดๆ หรือยานพาหนะ ในระหว่างเวาลพระอาทิตย์ขึ้น พระอาทิตย์ตก
มาตรา ๓๑ ในกรณีปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เป็นพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
หมวดที่ ๓ การสงเคราะห์เด็ก
มาตรา ๓๒ เด็กที่พึงได้รับการสงเคราะห์
เด็กที่ผู้ปกครองไม่สามารถอุปการะเลี้ยงดูได้
เด็กที่ได้รับการเลี้ยงดูโดยมิชอบถูกใช้เป็นเครื่องมือในการกระทำ
เด็กที่อยู่ในสภาพยากลำบาก
เด็กพิการ
เด็กที่ผู้ปกครองมีพฤติกรรมไม่เหมาะสมอันอาจส่งผลกระทบต่อพัฒนาการทางร่างกาย จิตใจของเด็ก
เด็กที่ถูกทอดทิ้งหรือพลัดหลง
เด็กเรร่อนหหรือเด็กกำพร้า
เด็กที่อยู่ในสภาพที่จำต้องได้รับการสงเคราะห์ตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๓๙ ในกรณีที่ผู้ปกครองซึ่งได้รับเด็กกลับมาอยู่ในความดูแล มีพฤติการณ์น่าเชื่อว่าจะให้การเลี้ยงดูโดยทมิชอบแก่เด็กอีก
มาตรา ๓๓ ในกรณีพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้มีหน้าที่คุ้มครองสวัสดิภาพเด็กได้รับแจ้งจากบุคคลหรือพบเห็นเด็กที่พึงได้รับการสงเคราะห์
มาตรา ๓๔ ผู้ปกครองหรือญาติของเด็ก อาจนำเด็กไปขอรับการสงเคราะห์ที่กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการหรือสำนักงานพัฒนาสังคมและสวัสดิการจังหวัด
มาตรา ๓๕ เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่คุ้มครองสวัสดิภาพเด็กถ้าเด้กป่วยหรือจำต้องตรวจสุขภาพหรือเด็กพิการต้องรีบจัดให้มีการตรวจรักษาทางร่างกายและจิตใจทันที
มาตครา ในระหว่างที่เดกได้รับการสงเคราะห์หากปรากฎว่าเป็นเด็กที่เสี่ยงต่อการกระทำผิดและพึงได้รับการคุ้มครองสวัสดิภาพ
มาตรา ๓๗ เมื่อสถานแรกรับ สถานสงเคราะห์สถานพัฒนาและฟื้นฟูได้รับตัวเด็ก
มาตรา ๓๘ ในกรณีที่ปลัดกระทรวงสั่งให้เด็กได้รับการสงเคราะห์โดยผู้ปกครองไม่ยิยยอม ผู้ปกครองย่อมมีสิทธินำคดีไปสู่ศาลภ่ายในหนึ่งร้อยยี่สิบวัน
หมวด ๔ การคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก
มาตรา ๔๐ เด็กที่พึงได้รับการคุ้มครองสวัสดิภาพ
เด็กที่เสี่ยงต่อการกระทำผิด
เด็กที่ถูกทารุณกรรม
เด็กที่อยู่ในสภาพที่จำต้องได้รับการคุ้มครองสวัสดิการตามที่กำหนดในกระทรวง
มาตรา ๔๒ การดำเนินการคุ้มครองสวัสดิภาพเด็กต้องรีบจัดให้มีการตรวจรักษาทางร่างกายและจิตใจทันที ถ้าพนักงานเจ้าหน้าที่เห็นสมควรต้องสืบเสาะและพินิจเกี่ยวกับเดกและครอบครัว
มาตรา ๔๓ กรณีที่ผู้ปกครองหรือญาติของเด็กเป็นผู้กระทำทารุณกรรมต่อเด็กถ้ามีการฟ้องคดีอาญาแก่ผู้กระทำผิดและมีเหตุอันควร
มาตรา ๔๔ เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่หรือผู้มีหน้าที่คุ้มครองสวัสดิภาพเด็กได้รับแจ้งจากผู้พบเห็นเด็กที่เสี่ยงต่อการกระทำผิดสอบถามเด็กและดำเนินการหาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับตัวเด็ก
มาตรา ๔๕ ห้ามมิให้เด็กซื้อหรือเสพสุราหรือบุหรี่ เข้าไปในสถานที่เฉพาะเพื่อการจำหน่ายหรือเสพสุราหรือบุหรี่
มาตรา ๔๖ ในกรณีที่ปลัดกระทรวงหรือผู้ว่าราชการจังหวัดสั่งให้เด็กเข้ารับการคุ้มครองสวัสดิภาพเจ้าหน้าที่ออกข้อกำหนดให้เด็กทำงานบริการสังคมหรือทำงานสาธารณะประโยชน์
มาตรา ๔๗ วิธีการดำเนินการคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก นอกจากที่บัญญัติไว้ในหมวดนี้ให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกำหนด
หมวด ๕ ผู้คุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก
มาตรา ๔๘ ในการดำเนินการสงเคราะห์ คุ้มครองสวัสดิภาพ และส่งเสริมความประพฤติแก่เด็กถ้าพนักงานเจ้าหน้าที่เห็นว่ามีเหตุสมควรแต่งตั้งผู้คุ้มครองเพื่อกำกับดูแลเด็กคนนั้น ก็ให้ยื่นคำขอต่อปลัดกระทรวงหรือผู้ว่าราชการจังหวัด
มาตรา ๔๙ ผู้คุ้มครองสวัสดิภาพเด็กมีอำนาจและหน้าที่
เยี่ยมเยียน ให้คำปรึกษา แนะนำแก่ผู้ปกครองเกี่ยวกับเรื่องการอบรมสั่งสอนและเลี้ยงดูเด็กที่อยู่ในการกำกับดูแล
จัดทำรายงานและความเห็นเกี่ยวกับสภาพความเป็นอยู่ของเด็กและของผู้ปกครองเสนอต่อ ปลัดกระทรวง ผู้ว่าราชการจังหวัด พนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อดำเนินการต่อไป
เยี่ยมเยียน ให้คำปรึกษา แนะนำ และตักเตือนเกี่ยวกับเรื่องความประพฤติ การศึกษ(าและการประกอบอาชีพแก่เด็กที่อยู่ในการกำกับดูแล
มาตรา ๕๐ ห้ามมิให้ผู้ปกครองสวัสดิภาพหรือผู้คุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก เปิดเผยชื่อสกุล ภาพหรือข้อมูลใดๆเกี่ยวกับเด็ก ผู้ปกครองในลักษณะที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ชื่อเสียง เกียรติคุณ
หมวด ๖ สถานรับเลี้ยงเด็ก สถานแรกรับ สถานสงเคราะห์ สถานคุ้มครองสวัสดิภาพ และสถานพัฒนาและฟื้นฟู
มาตรา ๕๑ ปลัดกระทรวงมีอำนาจจัดตั้งสถานรับเลี้ยงเด็ก สถานแรกรับ สถานสงเคาระห์ สถานคุ้มครองสวัสดิภาพ และสถานพัฒนาและฟื้นฟู
มาตรา ๕๒ ภายใต้บังคับของมาตรา ๕๑ ผู้ใดจะจัดตั้งสถานรับเลี้ยงเด็ก สถานเเรกรับ สถานสงเคราะห์ สถานคุ้มครองสวัสดิภาพ การขอใบอนุญาต การออกใบอนุญาต การขอต่ออายุใบอยุญาต การขอใบแทนใบอนุญาตที่สูญหาย ถูกทำลาย กำหนดในกระทรวงและให้เสียค่าธรรมเนียมตามอัตราที่กำหนดในกระทรวง
มาตรา ๕๓ ให้ปลัดกระทรวง ผู้ว่าราชการจังหวัด คณะกรรมการ คณะกรรมการคุ้มครองเด็กกรุงเทพมหานคร กำกับดูแลและส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินงานของสถานรับเลี้ยงเด็ก สถานแรกรับ สถานสงเคราะห์ สถานคุ้มครองสวัสดิภาพ และสถานพัฒนาและฟื้นฟูที่อยู่ในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ
มาตรา ๕๔ ในสถานแรกรับ สถานสงเคราะห์ สถานคุ้มครองสวัสดิภาพ และฟื้นฟูจะต้องไม่ดำเนินกิจการในลักษณะแสวงหากำไรในทางธุรกิจ
มาตรา ๕๗ ผู้รับใบอนุญาตและผู้ปกครองสวัสดิภาพของสถานสงเคราะห์และสถานคุ้มครองสวัสดิภาพที่จัดตั้งขึ้น
มาตรา ๕๘ ผู้ปกครองสวัสดิภาพของสถานสงเคราะห์มีอำนาจหน้าที่ตามมาตรา ๕๖
จัดบริการแนะแนว ให้คำปรึกษา และช่วยเหลือแก่ผู้ปกครอง
สอดส่องและติดตามให้คำปรึกษา แนะนำ และช่วยเหลือแก่เด็กที่ออกจากสถานสงเคราะห์ไปแล้ว
จัดการศึกษา อบรม สั่งสอน และฝึกหัดอาชีพ แก่เด็กที่อยู่ในความปกครองดูแลของสถานสงเคราะห์
มาตรา ๕๙ ผู้ปกครองสวัสดิภาพของสถานคุ้มครองสวัสดิภาพมีอำนาจหน้าที่
จัดการศึกษา อบรม และฝึกอาชีพแก่เด็กที่อยู่ในสถานคุ้มครองสวัสดิภาพ
แก้ไขความประพฤติ บำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพที่งทางร่างกายจิตใจแก่เด็ก
ปกครองดูแลและอุปการะเลี้ยงดูเด็กที่อยู่ในสถานคุ้มครองสวัสดิภาพ
สอดส่องและติดตามให้คำปรึกษา แนะนำ ช่วยเหลือแก่เด็กที่ออกจากสถานคุ้มครองไปแล้ว
มาตรา ๖๐ ผูกปกครองสวัสดิภาพของสถานพัฒนาและฟื้นฟูอำนาจหน้าที่
ทำการสืบเสาะพินิจเกี่ยวกับเด็กและครอบครัว
จัดการศึกษา ฝึกอบรม สั่งสอน บำบัดรักษา แนะแนว อยู่ระหว่าการดูแล
รับเด็กที่จำต้องได้รับการบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพด้านร่างกาจิตใจ
มาตรา ๖๒ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบีญญัติที่ได้รับมอบหมายจากปลัดกระทรวงผู้ว่าราชการจังหวัด ให้ผู้ปกครองสวัสดิภาพเป็นนเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา ๕๕ ให้ปลัดกระทรวงและผู้ว่าราชการจังหวัด มีอำนาจแต่งตั้งถอดถอนผู้ปกครองสวัสดิภาพของสถานแรกรับ สถานสงเคราะห์ สถานคุ้มครองสวัสดิภาพ และสถานพัฒนาและฟื้นฟูตามหลักเกณฑ์
มาตรา ๕๖ ผู้ปกครองสวัสดิภาพของสถานแรกรับมีอำนาจและหน้าที่
จัดที่พักอาศัย ที่หลับนอน เครื่องนุ่งห่ม ให้เหมาะสมและถูกสุขลักษณะ และจัดอาหารให้ถูกอนามัยและเพียงพอแก่เด็กที่อยู่ในความปกครองดูแล
จัดการสึึกษา การกีฬา และนันทนาการให้แก่เด็กที่อยู่ในความปกครองดูแลให้เหมาะสมกับวัยและสภาพของเด็ก
จัดให้มีการตรวจสุขภาพกายและสุขภาพจิต พร้อมทั้งดำเนินการรักษาเยียวยาแก่เด็กที่อยู่ในความปกครองดูแล
มอบตัวเด็กแก่ผู้ปกครอง หรือบุคคลที่เหมะสมและยินยอมรับเด็กไว้อุปการะเลี้ยงดูและเห็นสมควรอาจยื่นคำขอให้ปลัดกระทรวงหรือผู้ว่าราชการจังหวัด
สืบเสาะและพินิจเกี่ยวกับอายุ ประวัติ ความประพฤติ สติปัญญา การศึกษาอบรม สุขภาพ ภาวะแห่งจิต นิสัย อาชีพ และฐานนะของเด็ก
ให้คำปรึกษา แนะนำ และช่วยเหลือแก่ผู้ปกครอง ในกรณีที่เด็กจำต้องได้รับการสงเคราะห์
รับตัวเด็กที่จำต้องได้รับการสงเคราะห์หรือคุ้มครองสวัสดิภาพไว้เพื่อสืบเสาะและพินิจเด็กและครอบครัว
จัดส่งเด็กที่ได้ดำเนินการตาม (๑)(๒)ไปยังสถานสงเคราะห์ สถานพัฒนาและฟื้นฟู โรงเรียน ที่มีวัตถุประสงค์ในการสงเคราะห์
หมวด ๗ การส่งเสริมความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา
มาตรา ๖๓ โรงเรียนและสถานศึกษาต้องจัดให้มีระบบงานและกิจกรรมในการแนะแนวให้คำปรึกษาฝึกอบรมแก่นักเรียน นักศึกษา ผู้ปกครอง
มาตรา ๖๔ นักเรียนและนักศึกษาต้องประพฤติตนตามระเบียบของโรงเรียนหรือสถานศึกษากำหนด
มาตรา ๖๕ นักเรียนหรือนักศึกษาผู้ใดฝ่าฝืนให้พนักงานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติตามระเบียบที่รัฐมนตรีกำหนด
มาตรา ๖๖ พนักงานเจ้าหน้าที่ตามหมวดนี้มีอนาจดำเนินการเพื่อส่งเสริมความประพฤตินักรียนและนักศึกษา
ให้คำแนะนำแก่ผู้ปกครองในเรื่องการอบรมสั่งสอนนักเรียน นักศึกษา
เรียกผู้ปกครองมาว่ากล่าวตักเตือน ทำทัณ์บนว่าจะปกครองดูแล
เรียกให้ผู้ปกครอง ครู อาจารย์ หัวหน้าสถานศึกษาที่นักเรียน นักศึกษากำลังศึกษาอยูมารับตัวนักเรียนเพื่อกล่าวอบรมสั่งสอน
สอดส่องดูแลรายงานต่อคณะกรรมการ
สอบถามครู อาจารย์ หัวหน้าสถานศึกษาเกี่ยวกับความพฤติ
ประสานงานกับผู้บริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษา ครู ผู้ปกครอง ตำรวจ พนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อดำเนินการ
หมวด ๘ กองทุนคุ้มครองเด็ก
มาตรา ๖๘ ให้รัฐบาลจัดสรรงบประมานเพื่อจัดตั้งกองทุนขึ้นกองทุนหนึ่งในสำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
มาตรา ๖๘ กองทุนประกอบด้วย
เงินหรือทรัพย์สินที่ตกเป็นของกองทุนหรือที่กองทุนได้รับ
เงินที่ริบจากเงินประกันของผู้ปกครองที่ผิดทัณฑ์บน
เงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้บริจาคหรือมอบให้
ดอกผลที่เกิดจากเงินหรือทรัพย์สินของกองทุน
เงินที่ได้รับจากงบประมาณรายจ่ายประจำปี
เงินอุดหนุนจากต่างประเทศหรือองค์การระหว่างประเทศ
เงินทุนประเดิมที่รัฐบาลจัดสรรให้
มาตรา ๗๐ เงินและดอกผลที่กองทุนได้รับไม่ต้องนำส่งกระทรวงการคลังเป็นรายได้แผ่นดิน
มาตรา ๗๑ ให้มีคณะกรรมการบริหารกองทุน
มาตรา ๗๒ ให้นำบทบัญญัติมตรา ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๕ มาใช้บังคับกับการดำรงตำแหน่งการประชุมของคณะกรรมการบริหารกองทุน โดยอนุโลม
มาตรา ๗๓ ให้คณะกรรมการบริหารกองทุนมีอำนาจหน้าที่
พิจารณาอนุมัติการจ่ายเงินเพื่อการสงเคราะห์ คุ้มครอง
รายงานสถานะการเงินและการบริหารกองทุนต่อคณะกรรมการคตามระเบียบที่คณะกรรมการกำหนด
บริหารกองทุนให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกำหนด
มาตรา ๗๔ การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษา การจัดหาผลประโยชน์และการจัดการกองทุน
มาตรา ๗๕ ให้มีคณะกรรมการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของกองทุนจำนวนห้าคน
มาตรา ๗๖ คณะกรรมการติดตามและประเมินผล มีอำนาจหน้าที่
รายงาผลการปฏิบัติงานพร้อมทั้งข้อเสนอแนะต่อคณะกรรมการ
มีอำนาจเรียกเอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับกองทุนจากบุคคล
ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลกาดำเนินงานกองทุน
มาตรา ๗๗ ให้คณะกรรมการบริหารกองทุนจัดทำงบดุลและบัญชีทำการส่งผู้สอบบัญชีตรวจสอบภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวัน
หมวด ๙ บทกำหนดโทษ
มาตรา ๗๘ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๒๖ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามเดือนหรือปรับไม่เกินสามหมื่อนบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๗๙ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๒๗ ๕๐ ๖๑ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๘๐ ผู้ใดขัดขวางไม่ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติหรือไม่ยอมส่งเอกสารหรือส่งเอกสารโดยรู้ว่าเป็นเอกสารเท็จ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๘๑ ผู้ใดฝ่าฝืนข้อกำหนดของศาลในการคุมความประพฤติห้ามเข้าเขตกำหนดหรือห้ามเข้าใกล้เด็กต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๘๒ ผู้ใดจัดตั้งหรือดำเนินกิจการสถานรับเลี้ยงเด็ก สถานแรกรับ สถานสงเคราะห์ โดยมิได้รับใบอนุญาต ใบอนุญาตถูกเพิกถอนหรือหมดอายุ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน ปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๘๓ เจ้าของหรือผู้ปกครองสวัดิภาพของสถานรับเลี้ยงเด็ก สถานแรกรับ สถานสงเคราะห์ สถานคุ้มครองสวัสดิภาพ สถานพัฒนาและฟื้นฟูผู้ใดไม่ปฏิบัติหรือกฎกระทรวงหรือระเบียบที่ออก ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๘๔ ผู้ใดกระทำการเป็นผู้ปกครองสวัดิภาพของสถานแรกรับ สถานสงเคราะห์ สถานคุ้มครองสวัสดิภาพ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๘๕ ผู้ใดกระทำการอันเป็นการยุยง ส่งเสริม ช่วนเหลือ หรือสนับสนุนให้นักเรียนหรือนักศึกษาฝ่าฝืนบทบัญญัติตามมาตรา ๖๔ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามเดือน ปรับไม่เกินสามหมื่อบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๘๖ ผู้ใดไม่อำนวยความสะดวกแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรา ๖๗ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่อนบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
บทเฉพาะกาล
มาตรา ๘๗ ให้สถานรับเลี้ยงเด็ก สถานแรกรับ สถานสงเคราะห์ และสถานคุ้มครองสวัสดิภาพเด็กของหน่วยงานราชการ หรือ ของเอกชนที่ได้รับอนุญาต ตามประกาศของคณะปฏิวัติ
มาตรา ๘๘ บรรดากฏกระทรวง ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ หรือคำสั่งที่ออกโดยอาศัย อำนาจตามความในประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับ ๒๙๔ ลงวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๕และประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๑๓๒ ลงวันที่ ๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๑๕ ให้ใช้บังคับต่อไปได้เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับพระราชบัญญัตินี้ จนกว่าจะมีกราออกกฎกระทรวง ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศหรือคำสั่งตามพระราชบัญญัตินี้
นางสาว อังคณา ดำสม รหัส 6220160443 เลขที่ 15 กลุ่มที่ 6