Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Hypertension in Pregnancy ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ (:!!: กลุ่มเสี่ยง …
Hypertension in Pregnancy ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
การวินิจฉัย
Systolic BP ≥ 140 mmHg
Diastolic BP ≥ 90 mmHg
:red_flag:: วัด 2 ครั้ง ห่างกัน 6 ชม.
อาการและอาการแสดง
:pencil2: ปวดศีรษะ ตามัว และ/หรือจุกแน่นบริเวณลิ้นปี
:pencil2: ชัก
PIH : Prenancy Induced Hypertension
คือการเกิดความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภ์
:check: หลัง GA 20 weeks
:check: หลังคลอด 12 weeks กลับมาเป็นปกติ
" GESTATIONAL HYPERTENSION " เป็นภาวะที่มีความดันโลหิตสูงมากกว่า 140/90 mmHg เพียงอย่างเดียว
" PREECLAMSIA "
พบความดันโลหิตสูงมากกว่า 140/90 mmHg
รวมกับมีโปรตีนในปัสสาวะ
Mild preeclampsia
มี BP ≥ 140/90 mmHg
:star: พบ proteinuria ≥ 300 mg(ใน 24 ชม.) / 1+
ให้พักมากๆ สังเกตุและนับลูกดิ้น ติดตามพบแพทย์สม่ำเสมอ
ถ้ามีอาการงดให้นมบุตร
Severse preeclampsia
มี BP ≥ 160/110 mmHg
:star: พบ proteinuria ≥ 2 g(ใน 24 ชม.) / 2+
อาการตาพร่ามัว ปวดหัว จุกแน่น
ฉี่น้อยกว่า 25 ml/hr
มี Cr > 1.2 g/dL เอนไซม์ตับเพิ่ม ปอดบวมน้ำ
:no_entry: ป้องกันภาวะชัก เมื่ออาการสงบ
ให้ยุติการคลอดโดยเร็ว
ถ้าอายุครรภ์ < 34 weeks ให้ Corticosteroid 48 hr. (ทุก 6 hr.) เพื่อสร้าง Surfactant ก่อน
อายุครรภ์ > 34 weeks ให้ MgSO4 จนคุม BP ได้ก่อนค่อยทำการคลอด
การให้ MgSO4
1) Loading dose
:hot_pepper: 10% MgSO4 เข้าหลอดเลือด 5 g ใน 5-10 นาที
:forbidden: vital sagn ทุก 5-10 นาที
2) Maintanance dose
:hot_pepper: 50% MgSO4 10 g สะโพกบน ข้างละ 5 g ทุก 4 hr. จนครบ 24 hr.
:hot_pepper: drip MgSO4 1-2 g/hr.
เตรียม anti-dose คือ 10% Calcium gluconate ไว้ข้างเตียงในสภาพพร้อมใช้เสมอ (ใช้ 4-7 mEq/L)
ถ้า Diastolic BP < 90 รายงานหมอ
:black_flag: การพยาบาลขณะให้
1.ดูแลให้นอนพัก
2.ประเมิน Urine output มากกว่าเท่ากับ 25 ml/hr.
3.ประเมิน Diastolic BP > 90 mmHg
ประเมิน RR > 14 bpm
5.Deep tendon reflex มากกว่าเท่ากับ 1+
Eeclampsia
ภาวะที่มีการชัก ในผู้ที่เป็น preeclampsia โดยไม่สามารถหาสาเหตุอื่นได้
:warning: เน้นแก้ไขภาวะชัก ทำทางเดินหายใจให้โล่ง
12 ชั่วโมงหลังคลอด ปัสสาวะมากขึ้น
1 สัปดาห์หลังคลอด โปรตีนหายไป และอาการบวมลดลง
2 สัปดาห์หลังคลอด ความดันโลหิตกลับไปเป็นปกติ
ระวังใน 48 ชั่วโมงอาจชักอีก
CHRONIC HYPERTENSION
:fire: เกิดก่อนตั้งครรภ์/ก่อนอายุครรภ์ 20 weeks
:fire: หลังคลอดไม่หายเป็นปกติ/หายช้า > 12 weeks
"superimpose preeclamsia"
1.ระยะก่อนแสดงอาการ
เซลล์รกฝังตัวไม่ดี (Trophoblast)
หลอดเลือดตีบ
2.ระยะแสดงอาการ หลังจากที่รกฝังตัวไม่ดีไม่ยึดแน่นกับผนังมดลูกทำให้การสร้างหลอดเลือดที่เชื่มระหว่างรกและมดลูกไม่มีประสิทธิภาพ
จะเกิดอาการและอาการแสดงดังนี้
ระบบประสาท
เลือดไปเลี้ยงสมองไม่พอเกิดตาพร่า ปวดหัว
ทารก
เกิด IUGR ขาดO2 รกลอกก่อน
การแข็งตัวของเลือดลดลง
ตับ
เลือดไปเลีี้ยงไม่พอ การทำงานไม่มีประสิทธิภาพ การสร้าง factor เกร็ดเลือดลดลง ทำให้มีเกล็ดเลือด <100000
ไต
การกรองลดลง ทำให้มี โปรตีนและน้ำตาลรั่วออกมา
ระบบหัวใจและหลอดเลือดไม่ดี
เลือดในระบบไม่เพิ่มขึ้น ทำให้เลือดไม่เพียงพอ มี capilary leak ระบบไหลเวียนเลือดไม่ดี รกมีเนื้อตายเกิดขึ้น
:!!: กลุ่มเสี่ยง :!!:
1.อายุมารดาที่น้อยกว่า 20 ปี และอายุที่มากกว่า 35 ปี
2.ตั้งครรภ์ครั้งแรก (primigravida)
3.มีประวัติเป็นความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์มาก่อน (previous preeclampsia)
4.มีประวัติเป็นความดันโลหิตสูงในครอบครัว (family history of preeclampsia)
5.ตั้งครรภ์แฝด (multiple pregnancy)
6.ตั้งครรภ์ไข่ปลาอุก (molar pregnancy)
7.ทารกบวมน้ำ (fetal hydrops)
8.สตรีตั้งครรภ์ที่มีดัชนีมวลกายมากกว่า 30 กิโลกรัม
ต่อตารางเมตร
9.มีประวัติเป็นโรคทางอายุรกรรมบางอย่างมาก่อน (pre-existing medical conditions)
ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต หรือโรค autoimmune
ภาวะแทรกซ้อนครรภ์เป็นพิษ ที่สำคัญ :warning:
ภาวะ HELLP SYNDROME
hemolysis(เม็ดเลือดแดงแตก) , elevated liver enzymes และ low platelet level syndrome
อาการแสดงครบ 3 กลุ่มอาการ microangiopathic hemolytic anemia (MAHA)
lactate dehydrogenase หรือ LDH >
600IU/L
totalbilirubin>1.2 mg%
serum aspartate
aminotransferase >70 U/L
เกล็ดเลือด <100,000/mm3
LDH, totalbilirubin,AST และ
เกล็ดเลือดกกลับเป็นปกติได้เองใน 5วันหลังคลอด
นศพต.นริศรา นายโรง ชั้นปีที่ 3 เลขที่ 26