Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยไฟฟ้า (ผลข้างเคียงของการท า ECT (Side…
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยไฟฟ้า
ขนาดของพลังไฟฟ้า/ ปริมาณไฟฟ้าที่ใช้รักษา (Dosage of ECT)
การหาปริมาณกระแสไฟฟ้าที่เหมาะสม ต้องค านึงถึงปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อ Threshold ของการชัก
ได้แก่
1) การวางอีเลคโทรด แนบสนิทกับผิวหนังดีหรือไม
2) เพศ ผู้หญิงใช้กระแสไฟฟ้ามากกว่าหรือพลังงานไฟฟ้าสูงกว่าผู้ชาย ในขนาด
3) น้ าหนักตัวเท่ากัน เพราะผู้หญิงมีปริมาณไขมันใต้ผิวหนังมากกว่าผู้ชาย
4) อายุ อายุสูงขึ้น seizure threshold จะเพิ่มขึ้นตามอายุ
5) ปริมาณไขมันใต้ผิวหนัง (Subcutaneous fat) ผู้ป่วยอ้วนจะใช้กระแสไฟฟ้ามากกว่าผู้ป่วยผอม
6) จ านวนครั้งที่ท า ECT ผู้ป่วยที่เคยท า ECT มาแล้วใช้กระแสไฟฟ้ามากกว่าผู้ป่วยที่ไม่เคยท าเนื่องจาก
seizure threshold เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ในระหว่างการรักษา
จ านวนครั้งของการรักษา (Course of ECT)
ปกติการท า ECT จะท าสัปดาห์ละ 3 ครั้ง (จันทร์ พุธ ศุกร์) เพราะการท า ECT ทุกวันมักเกิด Cognitive
dysfunction
จำนวนครั้งในการท า ECT ขึ้นกับการตอบสนองต่อการรักษาของผู้ป่วย
นิยมทำดังนี้
Major depression ประมาณ 6-8 ครั้ง
Mania ประมาณ 6-8 ครั้ง
Schizophrenia ประมาณ 12-18 ครั้ง
ผลข้างเคียงของการท า ECT (Side effect of ECT)
Medical complication
1) Cardiovascular causes โดยเฉพาะผู้ป่วยโรคหัวใจ หัวใจเต้นเร็ว/ช้า ผิดปกต
2) Prolong seizures คือการชักนานเกินกว่า 3 นาที ถ้ามี hypoxia นานจะยิ่งท าให้มีอาการ Confusionและ amnesia มากขึ้น
3) ภาวะแทรกซ้อนอื่น ๆ ได้แก่ ปวดหัว คลื่นไส้ ปวดกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้ออ่อนแรง ง่วงซึมเบื่ออาหาร
4) กระดูกหักและเคลื่อนที่เนื่องจากกล้ามเนื้อกระตุกรุนแรงมาก
Cognitive side effect
1) Confusion อาการสับสนชั่วคราว เกิดทันทีหลังการชัก
2) Amnesia อาการหลงลืมการลืมเหตุการณ์ในปัจจุบัน
3) Delirium พบประมาณร้อยละ10 มีอาการสับสนวุ่นวายพูดไม่รู้เรื่อง เสียการรับรู้เวลา สถานที่มักหายเองใน 5- 45 นาที
Adverse subjective reactions
ผู้ป่วยอาจมีความรู้สึกกลัว วิตกกังวลต่อการรักษาด้วยไฟฟ้าสาเหตุส่วนใหญ่มักเกิดจากการขาดความรู้เกี่ยวกับการรักษา อาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ จึงควรอธิบายให้ผู้ป่วยและญาติเข้าใจก่อนรักษาอาการข้างเคียง
โดยสรุปอาการข้างเคียง แบ่งเป็น 3 ระยะ
1) ขณะทำ ECT ในช่วงที่ปล่อยกระแสไฟฟ้าเข้าไปในร่างกายผู้ป่วยีความดันโลหิตไมสม่ าเสมอ มีการเต้นของหัวใจผิดปกติอาจเต้นช้าหรือเร็วมากกว่าปกตแต่เป็นอาการที่ไม่เป็นอันตรายด้านการรักษาต้องกดปล่อยกระแสไฟฟ้าเข้าไปซ้ าอีกครั้ง
หนึ่งจนเกิดอาการชัก อาจท าให้ผู้ป่วยเกิดความรู้สึกกลัว วิตกกังวลมากขึ้น
2) หลังท า ECT ช่วงสั้น พบมีอาการงุนงง สับสนชั่วคราว ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ และคลื่นไส
3) หลังท า ECT ระยะยาว พบว่าอาจมีความจ าบกพร่อง ชนิด retrograde amnesia หลงลืม (amnesia) คิดช้าลง
แนวคิดการรักษาด้วยไฟฟ้า
การรักษาด้วยไฟฟ้า (Electro Convulsive Therapy : ECT) หมายถึง การรักษาทางจิตเวชโดยใช้กระแสไฟฟ้าจ านวนจ ากัด ผ่านเข้าสมองในระยะเวลาจ ากัด ท าให้เกิดการชักแบบเกร็งทั้งตัว (Tonic-Clonic หรือGrand mal seizure) ท าให้ความผิดปกติทางจิตบางชนิดลดลง
กลไกการออกฤทธิ์
1) ECT ท าให้ปริมาณของ “Antideperssion” ในร่างกายเพิ่มขึ้น ซึ่งท าให้อาการของโรคซึมเศร้าหายไป
2) ECT มีการออกฤทธิ์บางอย่างเหมือนกับยากันชัก (Anticonvulsant) บางตัว
3) ECT จะกระตุ้น noradrenergic system ท าให้ Dopamine sensitivity เพิ่มขึ้น และลด Serotonin
uptake
4) มีการเพิ่มการตอบสนองต่อ serotonergic agonist ท าให้ผู้ตั้งสมมติฐานว่า ECT ท าให้มีการเพิ่มขึ้น
ของ serotonergic function
ข้อบ่งใช
1) ผู้ป่วยที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายสูง (High suicidal risk) จากการซึมเศร้ารุนแรง (Major Depression)
2) ผู้ป่วยที่มีอาการทางจิตรุนแรง และมีพฤติกรรมก้าวร้าว
3) โรคอามรณ์แปรปรวน ระยะคลุ้มคลั่ง
4) โรคจิตเรื้อรังที่ใช้ยารักษาไม่ได้ผล
6) ผู้ป่วยที่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยาไม่ดีและตอบสนองต่อการรักษาด้วย ECT ด
5) ผู้ป่วยที่ทนต่อผลข้างเคียงของยาไม่ได
ข้อห้ามใช
1) ภาวะที่มีความดันภายในกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้น
2) โรคของระบบหัวใจและหลอดเลือด
3) โรคกระดูก มีภาวะกระดูกพรุน (Osteoporosis)
4) ผู้สูงอายุที่ร่างกายไม่แข็งแรง
5) หญิงตั้งครรภ์ ควรระมัดระวังเป็นพิเศษ
ประเภทของการรักษาด้วยไฟฟ้า แบ่งเป็น 2 ประเภท
1) Modified ECT
การรักษาด้วยไฟฟ้าวิธีนี้เป็นการรักษาที่ให้ยาระงับความรู้สึกโดยการให้ผู้ป่วยดมยาสลบก่อน เป็นการรักษาที่มีวัตถุประสงค์เพื่อลดความรุนแรงของภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากการรักษาด้วยไฟฟ้า
2) Unmodified ECT
เป็นการรักษาด้วยไฟฟ้าโดยวิธีไม่ใช้ยาระงับความรู้สึก เป็นวิธีการแบบเก่าจะท าไป
โดยที่ผู้ป่วยยังคงรู้สึกตัว การท าจึงต้องได้รับความร่วมมือจากผู้ป่วยเป็นอย่างมาก
หลักการพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยไฟฟ้า
การรวบรวมข้อมูล
การตรวจร่างกายแพทย์ควรตรวจร่างกายทั่วไปของผู้ป่วยเพื่อประเมินสภาพการทำงานของหัวใจและปอด
ใบอนุญาต ผู้ป่วยเซ็นใบยินยอมให้ท าการรักษาด้วย ECT และถ้าผู้ป่วยไม่พร้อมญาติต้องลงนามไว
ข้อมูลอื่นที่จ าเป็น
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
การวางแผนและการปฏิบัติการพยาบาล
การรักษาด้วย ECT มักท าในตอนเช้า และผู้ป่วยต้องงดอาหารและน้ าอย่างน้อย 4 ชั่วโมงหรือหลังเที่ยงคืนก่อนท าการรักษาตามขั้นตอนการทำ ECT เป็น 3 ระยะดังนี้
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนรักษาแบบ Unmodified ECT
การพยาบาลผู้ป่วยขณะรักษาแบบ Unmodified ECT
การพยาบาลผู้ป่วยหลังการรักษาด้วย Unmodified ECT
สรุป
ECT เป็นการรักษาอย่างหนึ่งทางจิตเวช โดยการใช้กระแสไฟฟ้าผ่านเข้าไปในสมองเพื่อให้เกิดการชักแบบ grand mal
ECT ไม่ควรน ามาใช้กับผู้ป่วยที่มีความดันในสมองสูงมีปัญหาเกี่ยวกับระบบหลอดเลือดของหัวใจ
กระแสไฟฟ้าที่เข้าไปในสมองช่วยกระตุ้นให้เกิดการปรับสมดุลระดับ neurotransmittersที่ส าคัญได้แก่ serotonin, norepinephrine และ dopamine
อาการข้างเคียงที่พบได้มากที่สุดคือ งุนงง สับสน สูญเสียความจำแบบชั่วคราว และปวดศีรษะ