Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบัยทึกข้อมูลการบำบัดโรคเบื้องต้น การเยี่ยมบ้านและการส่งต่อ…
การบัยทึกข้อมูลการบำบัดโรคเบื้องต้น การเยี่ยมบ้านและการส่งต่อ
การบันทึกข้อมูลการบำบัดโรคเบื้องต้น
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต (Past history)
ประวัติการได้รับอุบัติเหตุ
ประวัติการแพ้
ประวัติการผ่าตัด
ประวัติการติดเชื้อ
ประวัติการเจ็บป่วยทั่วไป
ประวัติโรคเลือด
ประวัติในเด็ก
การได้รับภูมิคุ้มกัน
การเติบโต การเลี้ยงดู
ประวัติการตั้งครรภ์
อุปนิสัย
ประวัติครอบครัว
การเจ็บป่วยในอดีต
ประวัติปัจจุบัน (Present Illness)
อาการนั้นเป็นมานานแค่ไหนหรือเริ่มตั้งแต่เมื่อไหร่
ลักษณะอาการขณะเกิดโรคเปนอย่างไร
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว (Family history)
โรคทางพันธุกรรม
ประวัติของโรคติดเชื้อ
อาการสำคัญ (Chief complaint)
อาการที่เป็นสาเหตุ
ใช้คำพูดเดิมของผู้ป่วย
ไม่ระบุว่าเป็นโรค
ประวัติส่วนตัว (Personal history)
ระดับการศึกษา
อาชีพ
สุขนิสัยประจำวัน
สถานภาพการแต่งงาน
สถานที่ที่เกิด
สิ่งแวดล้อม
บุคลิกภาพ
รายละเอียดทั่วไป (Introductory data)
เพศ อายุ ศษสนา ฯลฯ
การสำรวจสภาพทั่วไป (General survey)
ลักษณะใบหน้า
การพูด
ลักษณะท่าทาง
กลิ่น
ส่วนสูงและรูปร่างสัดส่วน
สีผิว
ภาวะสุขภาพทั่วไป
ความรู้สึก การรับรู้
กิริยาอารมณ์
ข้อมูลที่ต้องการ
รายละเอียดทั่วไป (Introductory data)
อาการสำคัญ (Chief complaint)
ประวัติปัจจุบัน (Present Illness)
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต (Past history)
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว (Family history)
ประวัติส่วนตัว (Personal history)
การทบทวนอาการตามระบบอวัยวะ (Review of systems)
การทบทวนอาการตามระบบอวัยวะ (Review of systems)
หู : ได้ยินชัดไหม
จมูก : เป็นหวัดคัดจมูก
ตา : การมองเห็นดีไหม
ปากและฟัน : ปากเป็นแผล ฟันผุ
หัว : ผมร่วง ปวดศรีษะ
คอ : เจ็บคอไหม
ผิวหนัง : ตุ่ม ผื่น
หน้าอก : เจ็บอก
ปอดและหลอดลม : ไอไหม
สิ่งที่ต้องบันทึก
การรักษาโรคเบื้องต้น
การส่งต่อ
ส่งเพื่อรับการรักษา
ส่งเพือการดูแลต่อเนื่อง
การประเมินภาวะสุขภาพ
ตรวจร่างกาย
การตรวจเพิ่มเติมเพื่อวินิจฉัย
การซักประวัติ
ตัวอย่างแบบบันทึกการรักษาโรคเบื้องต้น
ตัวอย่าง
ภูมิลำเนาเดิม (จังหวัด)
ที่อยู่ปัจจุบัน
สถานภาพ
โทรศัพท์
ชื่อ-นามสกุล
ที่ทำงาน
ตัวอย่าง (ต่อ)
Personal history
ประวัติทางสูติกรรม
Family history (FH)
ประวัติการได้รับวัคซีน ในเด็ก
Past history (PH)
Physical examination (PE)
Present illness (PI)
น้ำหนัก-ส่วนสูง
Chief Complain (CC)
Body Mass Index (BMI)
การเยี่ยมบ้าน
แนวทางและข้อบ่งชี้ในการเยี่ยมบ้าน
Continuity (การให้บริการอย่างต่อเนื่อง)
Comprehensiveness (การให้บริการแบบเบ็ดเสร็จ)
Accessibility/ first contact (การเข้าถึงบริการ)
Coordination (การประสานงาน)
Community & Family participation (ครอบครัว/ชุมชนที่ส่วนร่วม)
ครอบครัวเป้าหมายที่ควรติดตาม
ครอบครัวที่มีผุ้ด้อยโอกาส
ครอบครัวที่ต้องการการดูแลอย่างใกล้ชิด
ครอบครัวที่มีผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ครอบครัวที่มีผู้สูงอายุ
ครอบครัวที่ต้องควบคุมโรคระบาดต่างๆ
ชนิดของการเยี่ยมบ้าน
การเยี่ยมบ้านคนใกล้เสียชีวิต
การดูแลการเจ็บป่วยระยะสุดท้าย(End of Life Care)
ประคับประคองความโศกเศร้าของครอบครัว
ประกาศการเสียชีวิต
การเยี่ยมบ้านเพื่อประเมินสุขภาพ
การเยี่ยมบ้านคนเจ็บป่วย
โรคเฉียบพัน
โรคเรื้อรัง
กรณีฉุกเฉิน
การเยี่ยมบ้านหลังจากออกจากโรงพยาบาล
ครอบครัวและบุตรที่เกิดใหม่
ไม่มาตามนัด
นอนโรงพยาบาลโดยโรคฉับพลัน,อุบัติเหตุ หรือการผ่าตัด
ตัวอย่างอุปกรณืที่ใช้ในการเยี่ยม
ปรอทวัดไข้
แผนที่
แบบประเมิน IN HOME SSS Checklist
เครื่องวัดความดัน
สายวัดรอบเอว
การดูแลผู้ป่วยเป็นครอบครัวอย่างต่อเนื่องที่บ้าน (Home health care)
แบบแผนการดูแล,ให้บริการที่เป็นทางการ,สม่ำเสมอ
ขั้นตอนหลังการเยี่ยมบ้าน
สรุปปัญหาครอบครัว
บันทึกข้อมูล
การตรวจร่างกายและผลการตรวจจากห้องปฎิบัติการ (Objective)
การประเมิน (Assessment)
ประวัติ (Subjective)
การวางแผน (plan)
คำนิยาม
การบริการดูแลสุขภาพผู้ป่วยที่บ้าน (Home care)
การจัดบริการเต็มรูปแบบที่เหมาะสมกับผู้ป่วยและครอบครัวหนึ่งๆ
การเยี่ยมบ้าน (Home visit)
รูปแบบการบริการที่เป็นส่วนหนึ่งของการบริการดูแลสุขภาพที่บ้าน
เมื่อถึงบ้านแล้วทำอะไรดี
สมาชิกคนอื่นในบ้าน (Other People)
การใช้ยา (Medication)
สภาพบ้าน (Home Environment)
การตรวจร่างกาย (Examination)
อาหาร (Nutrition)
ความปลอดภัย (Safety)
การเคลื่อนไหว (Immobility)
สุขภาวะทางจิตวิญญาณ (Spiritual Health)
แหล่งให้บริการสุขภาพที่ใกล้บ้าน (Services)
ทำไม?
เป็นเครื่องมือสร้างความสัมพันธืระหว่างผู้ให้บริการสุขภาพกับผู้รับการรักษา
การส่งต่อ
ความหมาย
การบริการทางการแพทย์และสาธารณสุข : สง่เสริม ป้องกัน รักษาและฟื้นฟู
การส่งต่อระหว่างสถานบริการสาธารณสุข : การส่งต่อทั้งไปและกลับ
ระบบส่งต่อ : การส่งต่อผู้ป่วยหรือผู้รับบริการ
Hospital Information System, HIS
HospitalOS
EMR Soft
HOSxP
นายพงศกร นาคดี 613110070-3