Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพัฒนาหลักสูตร (รูปแบบการประเมินหลักสูตร (การประเมินหลักสูตรตามจุดประสงค…
การพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการประเมินหลักสูตร
การประเมินหลักสูตรตามจุดประสงค์ (Goal-based)
การประเมินผลทั้งหมดหรือไม่ยึดจุดประสงค์ (Goal-free)
การประเมินตามหน้าที่ (Responsive)
การประเมินที่มุ่งการตัดสินใจ (The decision-making)
การประเมินเพื่อการรับรอง (The accreditation)
การประเมินหลักสูตรก่อน ระหว่าง และหลังการนำหลักสูตรไปใช้
การประเมินความก้าวหน้าและการประเมินผลสรุป
การประเมินความก้าวหน้าหรือระหว่างโครงการ (Formative evaluation)
การประเมินสรุปรวม (Summative evaluation)
หลักการ แนวคิดในการพัฒนาหลักสูตร
ปรัชญา ทฤษฎีทางการศึกษา
ทฤษฎีเป็นข้อสมมติต่าง ๆ ซึ่งมาจากกระบวนการทางตรรกวิทยาและคณิตศาสตร์
ประวัติความเป็นมาและระบบการจัดการศึกษาของไทย
มีมาตั้งแต่สมัยโบราณและปรับปรุงจนดีขึ้นถึงในปัจจุบัน
ทฤษฎีการเรียนรู้
พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษย์เกิดจากการวางเงื่อนไขที่ตอบสนองต่อความต้องการทางธรรมชาติ
พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษย์สามารถเกิดขึ้นได้จากสิ่งเร้าที่เชื่อมโยงกับสิ่งเร้าตามธรรมชาติ
พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษย์ที่เกิดจากสิ่งเร้าที่เชื่อมโยงกับสิ่งเร้าตามธรรมชาติจะลดลงเรื่อย ๆ และหยุดลงในที่สุดหากไม่ได้รับการตอบสนองตามธรรมชาติ
พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษย์สิ่งเร้าที่เชื่อมโยงกับสิ่งเร้าตามธรรมชาติจะลดลงและหยุดไปเมื่อไม่ได้รับการตอบสนองตามธรรมชาติ และจะกลับปราฏขึ้นได้อีกโดยไม่ต้องใช้สิ่งเร้าตามธรรมชาติ
มนุษย์มีแนวโน้มที่จะจำแนกลักษณะของสิ่งเร้าให้แตกต่างกันและเลือกตอบสนองได้ถูกต้อง
วิสัยทัศน์์ แผนการศึกษา มาตราฐานการศึกษาชาติ
คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดำรงชีวิตอย่างเป็นสุข สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21
ทักษะศตวรรษที่ 21
3Rs8Cs
สี่เสาหลักการศึกษา
การเรียนเพื่อรู้
การเรียนรู้เพ่ือปฏิบัติได้จริง
การเรียนรู้เพ่ือท่ีจะอยู่ร่วมกัน
การเรียนรู้เพ่ือชีวิต
ทฤษฎีหลักสูตร องค์ประกอบของหลักสูตร
การนำหลักสูตรไปใช้ (Curriculum Implementation)
การประเมินผลหลักสูตร (Evaluation)
เนื้อหา (Content)
ลักษณะของหลักสูตรที่ดี
จุดมุ่งหมายของหลักสูตร (Curriculum Aims)
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
3.การตรวจสอบคุณภาพหลักสูตร
4.การนำหลักสูตรไปใช้
2.การร่างหลักสูตร
5.การประเมินผลหลักสูตร
1.การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานในด้านต่างๆ
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนา
หลักสูตรของไทเลอร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรของทาบา
รูปแบบการ
พัฒนาหลักสูตรของเซเลอร์และอาเล็กซานเดอร์
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรและการสอนของวิชัย วงษ์ใหญ
การประเมินหลักสูตร
การประเมินเอกสาร หลักสูตร
การประเมินการใช้หลักสูตร
การประเมินสัมฤทธิผลของหลักสูตร
การประเมินระบบหลักสูตร
การนำหลักสูตรไปใช้
ขั้นการเตรียมการใช้หลักสูตร
ขั้นดำเนินการใช้หลักสูตร
ขั้นติดตามและประเมินผล
ปัญหาและแนวโน้มในการพัฒนาหลักสูตร
ปัญหาการพัฒนาหลักสูตรไทย
ปัญหาการขาดครูที่มีคุณสมบัติเหมาะสม
ปัญหาการไม่ยอมรับและไม่เปลี่ยนแปลงบทบาทการสอนของครู
ปัญหาการจัดอบรมครู
ศูนย์การพัฒนาหลักสูตร ไม่เข้าใจบทบาทหน้าที่ของตน
ขาดการประสานงานที่ดีระหว่างหน่วยงานต่างๆ
ผู้บริหารต่างๆ ไม่สนใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงหลักสูตร
ปัญหาการขาดแคลนเอกสาร
แนวโน้มการพัฒนาหลักสูตร
แนวโน้มการพัฒนาหลักสูตรประถมศึกษา
การศึกษาสำหรับเด็กเล็ก และก่อนประถมศึกษาจะขยายตัวมากกว่าระดับอื่น
การเพิ่มคุณภาพของครูประถม
การเพิ่มงบประมาณ การปรับปรุงคุณภาพ และหลักสูตรโดยเน้นการประกอบอาชีพ
การพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชนให้ใกล้ชิดยิ่งขึ้น
การยุบโรงเรียนรวมเข้าด้วยกันแทนการสร้างโรงเรียนแห่งใหม่
แนวโน้มการพัฒนาหลักสูตรมัธยมศึกษา
เป็นบุคคลที่มีความสามารถในการใช้ภาษา เพื่อการสื่อสาร
มีความสามารถใช้เทคโนโลยีมาช่วยส่งเสริมทักษะการทำงานและการดำเนินชีวิต
มีความสามารถปรับตัวอยู่ร่วมกับคนอื่นได้
มีแนวทางที่จะเลือกดำเนินชีวิต
มีความสามารถพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของตนเองให้เจริญถึงขีดสุด
มีความสามารถที่จะนำตนเองได้ การควบคุมตนเองได้
มีโลกทัศน์ที่กว้างและมีน้ำใจแบบนานาชาติรวมทั้งมีค่านิยมและความสำนึกในความเป็นชาติไทยของตน
มีค่านิยมคุณธรรมและจริยธรรม
มีสุนทรียภาพในการดำเนินชีวิต
หลักสูตรแกนกลางขั้นพื้นฐาน
เป็นการต่อยอดจากหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกำลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จำเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ