Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความดันโลหิตสูงในหญิงตั้งครรภ์ (สาเหตุ/ปัจจัยเสี่ยง (ประวัติเป็นโรคทางอายุ…
ความดันโลหิตสูงในหญิงตั้งครรภ์
ความหมาย
การที่มีความดันโลหิตสูงมากกว่าหรือเท่ากับ 140/90 mmHg และมีโปรตีนรั่วในปัสสาวะโดยอาจจะมีหรือไม่มีภาวะบวมก็ได้
สาเหตุ/ปัจจัยเสี่ยง
อายุ (age)
อายุท่ีน้อยกว่า 20 ปี และอายุท่ีมากกว่า 35อาจทำให้เกิดความดันโลหิตสูงได้
ตั้งครรภ์ครั้งแรก (primigravida)
ประวัติเป็นความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์มาก่อน
มีประวัติเป็นความดันโลหิตสูงในครอบครัว
ตั้งครรภ์แฝด
ตั้งครรภ์ไข่ปลาอุก(molarpregnancy)
ทารกบวมน้า (fetal hydrops)
ดัชนีมวลกาย
ดัชนีมวลกายมากกว่า 30 กิโลกรัม
ประวัติเป็นโรคทางอายุรกรรมบางอย่างมาก่อน
เบาหวาน
ความดันโลหิตสูง
โรคไต
การวินิจฉัย
ตรวจร่างกาย
Systolic BP > 140 mmHg หรือ Diastolic BP > 90 mmHg
บวมที่หน้าและมือ
Hyperreflexia การตึงตัวของกล้ามเนื้อ
ตรวจทางห้องปฎิบัติการ
ตรวจพบไข่ขาวในปัสสาวะ
Proteinuria ≥ 300 mg/24 hr หรือ ≥ 1+ dipstick
เกล็ดเลือด<100,000
ประเภท/ภาวะ
Preeclampsia-eclampsia
ภาวะความดันโลหิตสูงที่จำเพาะกับการตั้งครรภ์ มักเกิดหลังอายุครรภ์20 สัปดาห์
Chronic hypertension
มีภาวะความดันโลหิตสูงตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์
Chronic hypertension with superimposed preeclampsia
Preeclampsia ที่เกิดในหญิงตั้งครรภ์ที่เป็น Chronic hypertension
Gestational hypertension
ภาวะความดันโลหิตสูงที่จำเพาะกับการตั้งครรภ์ ที่ตรวจพบหลังอายุครรภ์ 20 สัปดาห์ แต่ไม่พบ Proteinuria
การรักษา
ระยะก่อนตั้งครรภ์
ตรวจร่างกาย
ตรวจทางห้องปฎิบัติการ
CBC
BUN
Serum Cr
UPCI(หรือ Urine protein 24 hours)
EKG 12 leads
การควบคุมความดันโลหิตให้ดีตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์
ระยะคลอด
ลดความดันโลหิต
ห้ยาลดความดันโลหิตที่ออกฤทธิ์เร็ว (Short-acting antihypertensive drugs)
ลดปัจจัยรบกวน
ให้ได้รับการพักผ่อน
Pain control
เลี่ยงการตรวจหรือหัตถการที่ทำให้เจ็บปวด
จัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม
ป้องกันการชัก
MgSO4
ระยะหลังคลอด
การป้องกัน Post-partum hemorrhage
Monitor BP
Pain control
สังเกตอาการในโรงพยาบาลหลังคลอด อย่างน้อย 72 hours หรือ 3วัน
นัดตรวจติดตาม 7-10 วันหลังคลอด
ประเมินความดันโลหิต
อาการ
ผลตรวจทางห้องปฎิบัติการ
ตรวจติดตามหลังคลอด 6 สัปดาห์
อาการ
ปวดศีรษะมากหรือตาพร่ามัวอยู่ตลอด
ชัก
เหนื่อย หายใจเร็ว แน่นหน้าอก ฟังปอดได้ยินเสียงrales
pulse oximetry ต่ากว่า 95% Room air หรือมี
pulmonary edema
เจ็บจุกแน่นลิ้นปี่หรือใต้ชายโครงขวา
ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้แม้ว่าจะให้ยาลดความดันโลหิตขนาดสูงสุดแล้ว
ปัสสาวะออกน้อยกว่า 500 มล.ใน 24 ชั่วโมง
เจ็บครรภ์คลอดและ/หรือมีน้าเดิน
รกลอกตัวก่อนกำหนด