Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547…
พระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547
ข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษา
บุคคล : ซึ่ง
บรรจุและแต่งตั้ง
ให้รับราชการ
ได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณแผ่นดิน
งบบุคลากรที่จ่ายในลักษณะเงินเดือน
ข้าราชการครู
ผู้ประกอบวิชาชีพ : ซึ่งทำหน้าที่หลัก
ทางด้านการเรียนการสอน
ส่งเสริมเรียนรู้
สถานศึกษาของรัฐ
คณาจารย์
บุคลากร : ซึ่งทำหน้าที่หลัก
ทางด้านการสอน
การวิจัย
สถานศึกษาระดับอุดมศึกษา ปริญญาของรัฐ
บุคลากรทางการศึกษา
ประกอบด้วย
ผู้บริหารสถานศึกษา
ผู้บริหารการศึกษา
ผู้สนับสนุนการศึกษา
ผู้ทำหน้าที่ให้บริการหรือปฎิบัติงาน
การนิเทศ
การบริหารการศึกษา
ปฎิบัติงานอื่น
วิชาชีพ
ครู
ผู้บริหารการศึกษา
บุคลากรทางการศึกษา
ส่วนราชการ
หน่วยงานของรัฐ
ฐานะเป็น กรม
เทียบเท่า กรม
หัวหน้าส่วนราชการ
ปลัดกระทรวง
เลขาธิการ
อธิบดี
คณะกรรมการบริหารงานบุคคลของ
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ประกอบด้วย
ก.ค.ศ.
รมต.ศธ. : ประธานกรรมการ
2 รมช. + 1 ปลัด + 6 เลขาฯ
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ : 3 คน (คล ศึกษา กฎหมาย)
เลขาธิการ ก.ค.ศ.
คณะอนุกรรมการวิสามัญ
ประกอบด้วย
อ.ก.ค.ศ. วิสามัญ : 11 คณะ
แต่งตั้งจากกรรมการใน ก.ค.ศ. : ประธานอนุกรรมการ
อนุกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ : จำนวนไม่เกิน 11 คน (คล ศึกษา กฎหมาย)
อนุกรรมการ ซึ่งเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาสังกัด ศธ. : 2 คน
เลขาฯ ก.ค.ศ. แต่งตั้ง ข้าราชการใน สำนักงาน ก.ค.ศ. : อนุกรรมการและเลขานุการ
คุณสมบัติทั่วไป
มีสัญชาติไทย
ไม่ตํ่ากว่า 18 ปีบริบูรณ์
เลื่อมใส รธน.
ไม่เป็น การเมือง/สท./นายกฯ อบต./อบจ.
ไร้ความสามารถ/จิตฟั่นเฟือน/เป็นโรคตามกำหนดกฏกระทรวง
ไม่เป็นผู้อยู่ในระหว่างถูกสั่งพักราชการ/ถูกสั่งในออกจากราชการ
ไม่เป็นผู้บกพร่องในศีลธรรมอันดี
ไม่เป็นกรรมการบริหารพรรคการเมือง เจ้าหน้าที่พรรคการเมือง
ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย
ไม่เป็นผู้เคยต้องโทษจำคุก
ไม่เป็นผู้เคยถูกลงโทษให้ออก ปลดออก ไล่ออกจาก รัฐวิสาหกิจ องค์กรมหาชน รัฐ องค์การระหว่างประเทศ
ไม่เป็นผู้เคยถูกลงโทษให้ออก ปลดออก ไล่ออก เพราะผิดวินัย
ไม่เป็นผู้เคยกระทำการทุจริตในการสอบเข้ารับราชการ/ปฏิบัติงานของรัฐ
มาตรา 38
มี 3 ประเภท ดังนี้
ก. ผู้สอน
(1) ครูผู้ช่วย (บังคับใบประกอบวิชาชีพ)
(2) ครู (บังคับใบประกอบวิชาชีพ)
(3) อาจารย์ (ไม่บังคับใบประกอบวิชาชีพ)
(4) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (ไม่บังคับใบประกอบวิชาชีพ)
(5) รองศาสตราจารย์ (ไม่บังคับใบประกอบวิชาชีพ)
(6) ศาสตราจารย์ (ไม่บังคับใบประกอบวิชาชีพ)
ข. ผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษา
บังคับใบประกอบวิชาชีพทุกตำแหน่ง
(1) รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
(2) ผู้อำนวยการสถานศึกษา
(3) รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
(4) ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
(5) ตำแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นฯ
ค. บุคลากรทางการศึกษาอื่น
(1) ศึกษานิเทศก์ (บังคับใบประกอบวิชาชีพ)
(2) ตำแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่น เช่น ข้าราชการ ก.พ. ในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาต่าง ๆ (ไม่บังคับใบประกอบวิชาชีพ)
วิทยฐานะ
วิทยฐานะ
ครู : ชน/ชนพ/ชช/ชชพ
รอง ผอ. : ชน/ชนพ/ชช
ผอ. : ชน/ชนพ/ชช/ชชพ
รอง ผอ. เขตฯ : ชนพ/ชช
ผอ. เขตฯ : ชนพ/ชช/ชชพ
ศึกษานิเทศก์ : ชน/ชนพ/ชช/ชชพ
เงินวิทยฐานะ
ชำนาญการ : 3,500 บาท
ชำนาญการพิเศษ : 5,600 + 5,600 บาท
เชี่ยวชาญ : 9,900 + 9,900 บาท
เชี่ยวชาญพิเศษ : 13,000/15,600 + 13,000/15,600
ตำแหน่งทางวิชาการ
(1) อาจารย์
(2) ผู้ช่วยศาสตราจารย์
(3) รองศาสตราจารย์
(4) ศาสตราจารย์
การบรรจุและแต่งตั้ง
วิทยฐานะเชี่ยวชาญพิเศษ สั่งบรรจุและแต่งตั้ง : ผู้บังคับบัญชาสูงสุด (เลขาธิการ สพฐ.) ผู้อนุมัติ : ก.ค.ศ. เงื่อนไขสำคัญ : ให้ รมต.เสนอ >นายกรัฐมนตรี นำกราบบังคมทูล >พระมหากษัตริย์ ทรงโปรดเกล้า แต่งตั้ง
รอง ผอ. เขตฯ / ผอ. เขตฯ ทุกวิทยฐานะ (ยกเว้น เชี่ยวชาญพิเศษ) สั่งบรรจุและแต่งตั้ง : ผู้บังคับบัญชาสูงสุด (เลขาธิการ สพฐ.) ผู้อนุมัติ : ก.ค.ศ.
นอกนั้น :สั่งบรรจุและแต่งตั้ง : ผู้อนุมัติ : ศึกษาธิการจังหวัด โดยความเห็นชอบ
ของ กศจ.
ครูผู้ช่วย เตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้ม : 2 ปี: ทุก 3 เดือน รวม 2 ปี 8 ครั้ง
ไปรับราชการทหาร : กลับมาให้เริ่มเตรียมความพร้อมและ
พัฒนาอย่างเข้มใหม่
ผลการประเมินไม่ผ่าน : ออกจากราชการ ภายใน 5 วันทำ
การนับแต่วันที่ได้รับรายงาน แล้วแจ้งให้ผู้นั้นทราบโดยเร็ว
การย้ายสายครูผู้สอน
3 ประเภท - เขียนคำร้องขอย้าย ได้เพียง 1 ครั้ง : ภายใน เดือน มกราคม ของปี
การย้ายกรณีปกติ
ได้ปฏิบัติงานในตำแหน่ง “ครู” ในสถานศึกษาปัจจุบันติดต่อกัน
: ไม่น้อยกว่า 24 เดือน (ครูผู้ช่วย 2 ปี + ครู 2 ปี = 4 ปี) พิจารณา ย้ายปีละ 2 ครั้ง
ครั้งที่ 1 : เมษายน
ครั้งที่ 2 : กันยายน
การย้ายกรณีพิเศษ
พิจารณาได้ดลอดปี
การย้ายกรณีเพื่อความเหมาะสมและประโยชน์ของทางราชการ
พิจารณาได้ตลอดปี
การลาบ่อยครั้ง
ข้าราชการในสถานศึกษา : ลาเกิน 6 ครั้ง
ข้าราชการใน สพท. : ลาเกิน 8 ครั้ง
การมาทำงานสายเนือง ๆ
ข้าราชการในสถานศึกษา : สายเกิน 8 ครั้ง
ข้าราชการใน สพท. : สายเกิน 9 ครั้ง
วินัยและการรักษาวินัย
ลักษณะของวินัยของข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษา
1.ใช้เฉพาะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
2.ไม่มีอายุความ
3.บิดา มารดา ร้องแทนได้
4.ถอนคำร้อง : ไม่มีผลระงับการดำเนินการทางวินัย
5.ยอมความกันไม่ได้/ไม่อาจชดใช้ด้วยเงิน
6.วินัยไม่ร้ายแรง : ตาย/ลาออก/เกษียณ : งด วินัยร้ายแรง : ตาย/ลาออก/เกษียณ : ไม่งด
7.ความผิดชัดแจ้ง : ไม่ต้องตั้งกรรมการสอบก็ได้
8.รับสารภาพ : ไม่เป็นเหตุลดหย่อน
9.จะมาอ้างไม่รู้กฎหมายไม่ได้
10.หลักฐานไม่พอ : ก็ออกจากราชการ : กรณีมีมลทิน
11.หย่อน/บกพร่อง/ไม่เหมาะสมต่อหน้าที่ : ออกจากราชการไว้ก่อน (เป็นกรณีไป)
12.ผู้บังคับบัญชาละเลย/ปกป้อง/ช่วยเหลือ : ผิดวินัย
วินัยร้ายแรง
1.ปฏิบัติ/ละเว้น หน้าที่ราชการ เพื่อให้ตนเองและผู้อื่น ได้รับประโยชน์
2.จงใจไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย นโยบาย ระเบียบแบบแผน ประมาทเลินเล่อ
3.ขัดคำสั่งผู้บังคับบัญชา
4.ละทิ้งหรือทอดทิ้ง ในคราวเดียวกัน เกินกว่า 15 วัน
5.กลั่นแกล้ง ดูหมิ่น เหยียดหยาม กดขี่ ข่มเหง ผู้เรียน ประชาชน
ซื้อขาย รับแต่งตั้ง วิทยฐานะ
7.คัดลอก ลอกเลียนผลงานทางวิชาการ
8.ซื้อสิทธิ ขายเสียง ทุจริตการเลือกตั้ง
9.จำคุก หนักกว่า ลหุโทษ
10.เสพยาเสพติด สนับสนุนผู้อื่นเสพยาเสพติด เล่นการพนันเป็นอาจิณ
ล่วงละเมิดทางเพศต่อผู้เรียน นักศึกษา
โทษทางวินัย 5 สถาน :
ภาค ตัด ลด ปลด ไล่
การแยกพิจารณา
วินัยไม่ร้ายแรง : ผู้บังคับบัญชาที่กฏหมายกำหนด
วินัยร้ายแรง : ก.ค.ศ. : รอง ผอ. เขตฯ/ผอ. เขตฯ/ชชพ/เหนือหัวหน้าส่วนราชการ
หรือ ผอ. เขตฯ ขึ้นไป กศจ. : ชช ลงมาจนถึง ไม่มี วิทยฐานะ
อ.ก.ศ.จ. วิสามัญ : ไม่สังกัดเขตฯ/ชช ลงมาจนถึง ไม่มีวิทยฐานะ
ผู้มีอำนาจสั่งลงโทษทาง
วินัยอย่างร้ายแรง
ผู้มีอำนาจสั่งบรรจุ ตามมาตรา 53 หรือ
ผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน
การออกจากราชการ
การออกจากราชการ
(1) ตาย
(2) เกษียณ
(3) ลาออก
(4) ถูกสั่งให้ออก
(5) ถูกสั่งให้ปลดออกหรือไล่ออก
(6) ถูกเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ(เว้นแต่) ไปดำรงตำแหน่งอื่น
(7) รับราชการทหาร (ขอกลับภายใน 180 วัน)
ผู้ประสงค์จะลาออก
(1) ยื่นต่อ ผอ. เพื่อให้ มีอำนาจตามมาตรา 53 พิจารณาอนุญาต (ผู้มีอำนาจ ยับยั้ง ไม่เกิน 90 วัน)
(2) ลาออกไปเล่นการเมือง มีผลทันที
การอุทธรณ์ และร้องทุกข์
การอุทธรณ์
(1) มีคำสั่งลงโทษ
(2) เพื่อยกเรื่องมาพิจารณาใหม่
(3) ภาค/ตัด/ลด >กศจ.ภายใน 30 วัน
(4) ปลด/ไล่ >ก.ค.ศ. ภายใน 30 วัน
(5) อุทธรณ์ต่อ กศจ.ไม่รับความเป็นธรรม >ศาลปกครอง
การร้องทุกข์
(1) เป็นผู้บังคับบัญชาผู้เป็นเหตุแห่งการร้องทุกข์
(2) มีส่วนได้เสียในเรื่องที่ร้องทุกข์
(3) มีสาเหตุโกรธเคืองกับผู้ร้องทุกข์
(4) เป็นคู่สมรส บุพการี ผู้สืบสันดาน บิดามารดา กับผู้
บังคับบัญชาที่เป็นเหตุแห่งการร้องทุกข์