Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กโรคติดเชื้อ กลุ่มที่3 (โรคติดเชื้อไวรัส (โรคหัด(Measle) or…
การพยาบาลเด็กโรคติดเชื้อ กลุ่มที่3
โรคติดเชื้อไวรัส
โรคหัด(Measle) or Rubeola
สาเหตุ
เชื้อ Measles virus
การติดต่อ
ติดต่อโดยการหายใจ ไอ จาม รดกัน
หรือสัมผัส น้ำมูกน้ำลาย ปัสสาวะของผู้ป่วย
อาการและอาการแสดง
น้ำมูกไหล ไอ ตา แดง ถ้าดูในปากพบจุดสีขาวเล็กๆ(Koplik s spot)
มีไข้สูงขึ้นเรื่อยๆ พร้อมกับผื่นขึ้น
มีผื่นแบบ Maculopapular rash เริ่มที่ไรผมหน้าผาก หลังหู ไล่ลงมาตามตัว แขนขา ตามลำดับ เมื่ออาการต่างๆ ไข้ลดลงแล้ว ผื่นจะกลายเป็นสีคล้ำตัวลาย(hyperpigmentation)
อาตตรวจพบต่อมน้ำเหลืองโตบริเวณหู
ภาวะแทรกซ้อน
ปวดบวม
หูส่วนกลางอักเสบ
ท้องร่วงและอาเจียน
สมองอักเสบ เยื่่อบุตาอักเสบ
การรักษา
ให้ยาลดไข้ แก้ไอ ลดน้ำมูก
ถ้าหอบมากให้ออกซิเจนที่มีความชื้น
ดูแลให้พักผ่อนและให้อาหาร ถ้าทานไม่ได้
ต้องให้น้ำเกลือทางหลอดเลือด
ดูแล,เฝ้าระวัง,รักษาภาวะแทรกซ้อน
การป้องกัน
ฉีดวัคซีน 9 เดือนขึ้นไป
ฉีดวัคซีนภายใน 72 ชั่วโมงภายหลังจากสัมผัสโรค
ในรายที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง ควรให้ Immunoglobulin
โรคหัดเยอรมัน (Rubella)
สาเหตุ
RNA Virus
การติดต่อ
Nasopharyngeal secretion
ทางเดินหายใจ
อาการและอาการแสดง
ไข้ต่ำๆ ปวดศรีษะ ปวดเมื่อย เบื่ออาหาร มีน้ำมูก ไอ ต่อมน้ำเหลือที่ท้ายทอยหลังหูโต กดเจ็บ อาจมีผื่นและอาจไม่มีก็ได้
การรักษา
รักษาตามอาการ
ภาวะแทรกซ้อน
ข้ออักเสบ
สมองอักเสบ
จุดจ้ำเลือด จากเกล็ดเลือดต่ำ
การป้องกัน
ฉีดวัคซีน *หญิงที่ฉีดวัคซีนแนะนำ
อย่าให้ตั้งครรภ์ภายใน 3 เดือน
อีสุกอีใส (Varicella chickenpox)
สาเหตุ
เชื้อ Varicella Zoster
กลุ่ม Herpes Virus
การติดต่อ
สัมผัสกับผื่นผู้ป่วยและทางเดินหายใจ
อาการและอาการแสดง
1-2 วัน จะเริ่มมีไข้ ปวดศรีษะ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ผื่นตุ่มแดง และเปลียนเป็น Papule -->ตุ่มน้ำใส-->แห้งเป็นสะเก็ด พบได้ทุกบริเวณ
ภาวะแทรกซ้อน
ปอดบวม
การติดเชื้อแบคทีเรียซ้ำเติม
สมองอักเสบ
Hemorrhagic chickenpox
ตับ,ข้อ,อัณฑะ เกิดการอักเสบ
การรักษา
รักษาตตามอาการ
ตัดเล็บให้สั้น
ภูมิคุ้มกันต่ำต้องให้ยาฆ่าเชื้อไวรัส หรือImmuno globulin หลังสัมผัสโรคไม่เกิน 4 วัน
ให้ใช้ Antisepsis soap อ่อนๆ
การป้องกัน
แยกผู้ป่วยอย่างน้อย 5 วันหรือ
จนกว่าผื่นจะตกสะเก็ดหมด
ล้างมือให้สะอาดหลังสัมผัสกับผื่น
ฉีดวัคซีนป้องกันโรค
คางทูม(Mump)
สาเหตุ
Mump Virus
การติดต่อ
การไอ จาม สัมผัสน้ำลาย
อาการและอาการแสดง
ไข้ปวดศรีษะเบื่ออาหาร
ปวดขากรรไกร ข้างแก้ม ต่อมน้ำลายหน้าหูบวมโตกดเจ็บ
ภาวะแทรกซ้อน
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
อัณฑะ,รังไข่,ตับอ่อน เกิดการอักเสบ
การรักษา
รักษาตามอาการ
ไข้เลือดออก (Dengue Hemorrhagic Fever=DHF)
สาเหตุ
Dengue Virus
การติดต่อ
มียุงลายเป็นพาหนะนำพาเชื้อ
อาการและอาการแสดง
ระยะไข้(Febrile Stage)
ไข้สูงลอย อาจนานถึง7วัน
เบื่ออาหาร อาเจียตับโต กดเจ็บ คอแดง
มีจุดเลือดออกเล็กๆ
เกล็ดเลือดต่ำ
ระยะช็อค (Shock Stage)
ไข้ลงอย่างรวดเร็ว
กระสับกระส่าย ชีพจรเบาเร็ว BPลด Pulse pressure แคบ มีอาเจียนเป็นเลือด
มีน้ำรั่วในช่องท้องและช่องปอดทำให้ดูบวมขึ้น
ระยะพักฟื้น (Convalescent Stage)
น้ำและโปรตีนที่รั่วออกเริ่มกลับเข้ากระแสเลือด ปัสสาวะมากขึ้น หัวใจเต้นช้า
การรักษา
ระยะไข้
ให้ยาลดไข้ Xแอสไพริน ให้น้ำและเกลือแร่อย่างเพียงพอ
ระยะช็อค
ติดตามอาการอย่างใกล้ชิด ระวังภาวะช็อค
ระยะพักฟื้น
หยุดให้สารน้ำ เพราะอาจทำให้เกิด Fluid overload เมื่อมีการคืนกลับของพลาสมา
การวินิจฉัย
Hct>20%
Platlet<1แสน
ภาพรังสีปอดพบpleural effusion
การป้องกัน
ไม่ให้ยุงลายกัด , รณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุง
AID(Acquired Immune Deficiency Virus Syndrome)
สาเหตุ
เชื้อ Human Immunodeficiency Virus (HIV)
การติดต่อ
ทางเพศสัมพันธ์ สารคัดหลั่ง เลือด
มารดาสู่ทารก
อาการและอาการแสดง
Major
น้ำหนักลด ท้องเสียเรื้อรัง มีไข้นานมากกว่า 1 เดือน ติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนล่างรุนแรง
Minor
ต่อมน้ำเหลืองโตทั่วไป
ติดเชื้อราในปาก คอหอย ผื่นทั่วตัว
การรักษา
ยากระตุ้นระบบภูมิคุ้มกัน รักษาโรคติดเชื้อโรคติดเชื้อต่างๆ ให้ยาป้องกันการติดเชื้อฉวยโอกาส ให้คำปรึกษาผู้ดูแลเด็ก
ให้Vaccine BCG HBVac DPT OPV MMR JE
โรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คอตีบ(Diphtheria)
สาเหตุ
เชื้อ Corynebacterium diphtheriae
อาการและอาการแสดง
โรคคอตีบที่จมูก
มีน้ำมูกสีเหลืองปนเลือด ตรวจพบแผ่นเยื่อสีขาวที่จมูก
TonsillarและPharyngeal Diphtheria
เจ็บคอ มีไข้ต่ำๆ ต่อมน้ำเหลืองบวม
โรคคอตีบที่กล่องเสียง
มีไข้ ่อ่อนเพลีย หายใจไม่สะดวก
โรคคอตีบที่ผิวหนัง
เกิดในแผลเรื้อรัง แผลผ่าตัด อวัยวะเพศและรูหู
การติดต่อ
ทางเดินหายใจ การสัมผัส
วินิจฉัย
เนื้อเยื่อบริเวณใต้แผ่นเยื่อไปเพาะเชื้อ ตรวจ CBC
ภาวะแทรกซ้อน
กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
ซีด หัวใจเต้นไม่สม่ำเสมอ และเบาลง
มีอาการหัวใจวาย คลื่นไฟฟ้าหัวใจเกิดการเปลี่ยนแปลง
เส้นประสาทอักเสบ
เกิดการอุดกั้นทางเดินหาใจจากแผ่นเนื้อเยื่อ ปิดกั้นทางเดินหายใจ
การรักษา
ทดสอบการแพ้ เพื่อไปล้างท็อกซินที่อยู่ในกระแสเลือด
ATB Penicilin เพื่อกำจัดเชื้อ
rest
การป้องกัน
Vaccine รวมทั้งผู้ที่หายแล้วด้วย
แยกผู้ป่วยจนกว่าเชื้อจะเป็นลบ
โรคไอกรน (Pertussis)
สาเหตุ
เชื้อ Bordetella pertussis
การติดต่อ
ไอจามรดกัน
อาการและอาการแสดง
catarrhal stage
หวัด ไข้ต่ำๆ น้ำมูก คัดจมูก จาม
Paroxysmal stage
ไอรุนแรง เป็นชุด อาเจียน เขียว จนเยื่อบุตาแตก
Convalescent stage
อาการไอค่อยๆลดลง
การรักษา
ประคับประคอง
ATB
ใส่เครื่องช่วยหายใจ
ภาวะแทรกซ้อน
ปอดอักเสบ ปอดแฟบ ชัก ขาดสารอาหาร
บาดทะยัก (Tetanus)
สาเหตุ
เชื้อ Costridium tetani
การติดต่อ
ทางบาดแผล
อาการและอาการแสดง
ขากรรไกรแข็ง อ้าปากไม่ขึ้น กลืนลำบากคอแข็ง ใบหน้าหดเกร็ง หน้าแสยะยิ้ม(rinus sardonicus) ในทารกแรกเกิด ไม่ดูดนม ร้องกวน เขียว
การรักษา
ล้างแผล
ฉีด Antitoxin
ให้ ATB
ดูแลรักษาแบบประคับประคอง
วัณโรค (Tuberculosis)
สาเหตุ
เชื้อ Mycobacterium tuberculosis
การติดต่อ
จากสิ่งคัดหลั่ง ติดได้ในปอด ต่อมน้ำเหลือง เยื่อหุ้มสมอง กระดูกและข้อ
การรักษา
ให้ยา
2 เดือนแรก
ให้ -Isoniacid,Rifampicin,Pyrazinamide
,Streptomycin/Ethambutal
4 เดือนต่อมา ให้ Isoniacid และ Rifampicin
-วัณโรคปอดและต่อมน้ำเหลือง ให้ต่ออีก 4 เดือน
-วัณโรคสมอง กระดูกให้ต่ออีก 10 เดือน
อาการและอาการแสดง
ไอมาก เรื้อรัง ไอปนเลือด เจ็บหน้าอก รู้สึกเจ็บเวลาหายใจหรือไอ อ่อนเพลีย มีไข้ หยาวสั่น เหงื่อออก
ภาวะแทรกซ้อน