Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลุ่ม 7 การพยาบาลผู้ป่วยโรคหัวใจ (Acquired heart disease (Rheumatic heart…
กลุ่ม 7 การพยาบาลผู้ป่วยโรคหัวใจ
Congenital heart disease
สาเหตุ
การติดเชื้อ : rubella 1 3 เดือนแรกของการตั้งครรภ์
ได้รับยา/ฮอร์โมนบางชนิด : ยาระงับชัก ระงับประสาท
ดื่มสุรา
เป็นโรค : เบาหวาน หัวใจพิการแต่กาเนิด
ผิดปกติทางพันธุกรรม : Trisomy 13,18
Acyanotic heart disease
Left to right shunt
Venticular Septal Defect ( VSD )
เป็นโรคหัวใจแต่กำเนิดชนิดไม่เขียวที่มีรูรั่วที่บริเวณผนังกั้นระหว่างเวนตริเคิล เนื่องจากมีการสร้างผนังเวนตริเคิลที่ไม่สมบูรณ์
Atrial Septal Defect ( ASD )
เกิดจากผนังกั้นระหว่างเอเตรียมมีรูรั่วเนื่องจากมีการสร้างผนังกั้นไม่สมบูรณ์
Patant Ductus Arteriosus ( PDA )
เกิดจากความผิดปกติของหลอดเลือด Ductus Arteriosus ยังเปิดอยู่ภายหลังเด็กคลอด
อาการ
เหนื่อยง่าย เวลาออกแรง / เด็กเล็กดูเวลาดูดนม เขียว/ หอบ
เป็นหวัด ปอดอักเสบบ่อยๆ
รูรั่วน้อย : ไม่มีอาการ แต่ได้ยินเสียง murmur
รูรั่วใหญ่ : ASD เหนื่อยง่าย ล้มเหลวไม่รุนแรง VSD
ล้มเหลวใน 4 6 wks. PDA
ล้มเหลวได้
การรักษา
ประคับประคอง
ให้ยา PDA เล็ก indomethacin
ผ่าตัด : เช่นทา ligation of PDA
cyanotic heart disease
Right to Left Shunt
Tetralogy of Fallot ( TOF )
เกิดจากการมีเลือดไปเลี้ยงปอดน้อย โดยมีความผิดปกติ 4 อย่าง คือ VSD Pulmonary Stenosis Ventricular Hypertrophy Overiding of Aorta Aorta
อาการ
เขียวขณะร้อง (Hypoxic spell) เป็นลมหมดสติ
เหนื่อย แล้วนั่งยองๆ (squatting)
การรักษา
ขณะมี Hypoxic spell
Oxygen
Knee chest position
Sedation
Sodium bicarbonate
Iv. fluid
Propanolol
ผ่าตัด
Transposition of Great Vessel (TGV)
อาการ
เขียวมาก
หัวใจวายตั้งแต่แรกเกิด
การรักษา
ให้ยา prostagrandin E 2 เพื่อบรรเทาอาการ
ผ่าตัดรักษาทันที
Acquired heart disease
Rheumatic heart disease
โรคลิ้นหัวใจที่พบบ่อยที่สุด
การรักษา
รักษาภาวะหัวใจวาย
ผ่าตัดลิ้นหัวใจในรายที่เป็นมาก
เกิดตามหลังไข้รูมาติก
มีอาการหัวใจวาย
อาการ
มีอาการไข้ อ่อนเพลีย เหนื่อยล้า เจ็บหน้าอก
หายใจหอบ กล้ามเนื้อกระตุก ผิวหนังมีผื่นแดง
ปุ่มใต้ผิวหนัง ลิ้นหัวใจอักเสบเรื้อรัง
Infective endocarditis
เป็นการติดเชื้อของลิ้นหัวใจ เชื้อที่พบบ่อย : streptococcus,staphylococcus มักพบในผู้ที่มีหัวใจพิการ/ใส่ลิ้นหัวใจเทียม
อาการ
ไข้ หัวใจวาย murmur เส้นเลือดอุดตัน
การรักษา
ภาวะหัวใจวาย , antibiotic , แก้ embolic, ผ่าตัด
การป้องกัน
ให้ยาปฏิชีวนะป้องกันการติดเชื้อ เมื่อทาหัตถการบางชนิดในผู้ป่วยหัวใจพิการแต่กาเนิด ผ่าตัดหัวใจ สวน/ใส่หัวใจเทียม
ไม่ต้องให้ยา
Intubation
Cesarean section
การใส่/ถอด IUD
Myocarditis
มักเกิดจากการติดเชื้อ มีอาการหัวใจวายโดยไม่มี murmur
การรักษา
รักษาภาวะหัวใจวาย
รักษาสาเหตุ antibiotic
รักษาภาวะแทรกซ้อน หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ให้ steroid ในรายที่เป็นมาก
Pericarditis
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อ/หลังผ่าตัดหัวใจ
อาการ
ไข้ เจ็บหน้าอก หัวใจวาย เสียงหัวใจเบาลง
มีน้าในเยื่อหุ้มหัวใจ(pericardial
การรักษา
ภาวะหัวใจวาย
ให้antibiotic
ระบายน้า เจาะ ดูดออก ผ่าตัด
ให้ aspirin ในรายที่เป็นมาก
การประเมินสภาพผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจ
การซักประวัติ
ประวัติการคลอด
GA
Apgar score
การเจ็บป่วยของมารดาขณะตั้งครรภ์
ไข้ออกผื่น
3เดือนแรก หัดเยอรมัน
ได้รับยาบางชนิด
การฉายรังสี
การเลี้ยงดู
เลี้ยงไม่โต
หอบเหนื่อยง่าย
เป็นโรคทางเดินหายใจอักเสบบ่อยๆ
เขียว ชอบนั่งยองๆเวลาเหนื่อย
การตรวจร่างกาย
พิการแต่กำเนิด
ท่านั่งยองๆเวลาเหนื่อย(squatting)
เขียวตามปาก เล็บมือ เล็บเท้า
เล็บมือผิดปกติ(clubbing)
ผื่นผิวหนัง ข้อบวม เคลื่อนไหวผิดปกติ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CXRขนาดของหัวใจ ภาวะเลือดในปอด
EKGขนาดของหัวใจ ภาวะการเต้นของหัวใจ
Echocardiogram
ความพิการ/ การทางานของหัวใจ
Cardiac catheterization ความดัน ความเข้มข้น ของเลือดตามช่องต่างๆและหลอดเลือดใหญ่
Heart
failure
อาการ
อาการทั่วไป
เหนื่อยเวลาดูดนม โตช้า ขาดอาหาร
ชีพจรเบาเร็ว มือเท้าเย็น เหงื่อออกมาก
ปัสสาวะบ่อย บวม
อาการหัวใจด้านซ้ายวาย
Tachynea
Orthopnea
Paroxysmal noctunal dyspnea
Crepitation
Cardiomegaly
อาการหัวใจด้านขวาวาย
Cardiomegaly
Hepatomegaly
Engorged neck vein
Ascites
การดูแลรักษา
นอนศีรษะสูง bed rest
oxygen
จำกัดเกลือและน้า
ให้ยาขับปัสสาวะ
ยาเพิ่มแรงหัวใจบีบตัว digitalis
ผ่าตัด