Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กโรคติดเชื้อ(กลุ่ม7) (ติดเชื้อไวรัส (โรคหัด (Measles or…
การพยาบาลเด็กโรคติดเชื้อ(กลุ่ม7)
ติดเชื้อไวรัส
โรคหัด (Measles or Rubeola)
อาการ
ไข้สูงขึ้นเรื่อยๆ มีผื่นขึ้น
น้ำมูก ไอ ตาแดง
Koplik's sport
Maculopapular rash เริ่มที่ไรผม หน้าผาก หลังหู ลำตัว แขนขาตามลำดับ ภายใน 48-72 ชม เมื่อผื่นถึงเท้าไข้จะลง
ผื่นกลายเป็นสีคล้ำ ตัวลาย (Hyperpigmentation)
การรักษา
ให้ยาลดไข้
ให้ยาแก้ไอ ลดน้ำมูก
ถ้าหอบให้ออกซิเจนที่มีความชื้น
พักผ่อน ให้รับประทานอาหารหรือให้IV fluid
ให้Antibiotic
การป้องกัน
ฉีดวัคซีน MMR ตั้งแต่อายุ 9 เดือนขึ้นไป
บุคคลที่สัมผัสโรค : ฉีดวัคซีนป้องกันภายใน 72 ชม
รายที่ภูมิคุ้มกันบกพร่อง เช่น HIV ควรให้ Immunoglobulin ภายใน 6วันหลังสัมผัสโรค
โรคแทรกซ้อน
ปอดบวม
หูชั้นกลางอักเสบ
ท้องร่วง อาเจียน
สมองอักเสบ
เยื่อบุตาอักเสบ
หัดเยอรมัน (Rubella)
อาการ
ในเด็กมักไม่มีอาการนำด้วยผื่นเลย
เด็กโตและผู้ใหญ่ มีไข้ต่ำๆ ต่อมน้ำเหลืองหลังหูโต กดเจ็บ
ผื่นขึ้นจากใบหน้าก่อนและลามลงอย่างรวดเร็ว
โรคแทรกซ้อน
ข้ออักเสบ
สมองอักเสบ
จุดจ้ำเลือด อาจPltต่ำ
การรักษา
รักษาตามอาการ
การป้องกัน
ฉีดวัคซีน : หญิงที่ฉีดวัคซีนระวังอย่าตั้งครรภ์ภายใน 3เดือนหลังฉีด
ให้ Immune serum globulin ขนาดสูงภายใน 7วัน
อีสุกอีใส(Varicella chickenpox)
อาการ
ไข้ ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร
ผื่นเริ่มจากตุ่มแดงเปลี่ยนเป็น Papule กลายเป็นตุ่มใสและแห้งตกสะเก็ด
มีตุ่มทุกระยะในบริเวณใกล้เคียงกัน
โรคแทรกซ้อน
ปอดบวม
ติดเชื้อแบคทีเรียซ้ำ บริเวณตุ่มน้ำใส
สมองอักเสบ 1 สัปดาห์หลังผื่นขึ้น
Hemorrhagic chickenpox จาก Plt ต่ำ
ข้ออักเสบ อัณฑะอักเสบ
การรักษา
รักษาตามอาการ
ให้ยาลดไข้ที่ไม่ใช่ ASA
ให้ Antibiotic
ตัดเล็บให้สั้น
Antiseptic soap อ่อนๆ
การป้องกัน
แยกผู้ป่วยอย่างน้อง 5วันหลังผื่นขึ้น หรือจนกว่าจะตกสะเก็ดหมด
ล้างมือหลังสัมผัสผื่น
ฉีดวัคซีน
คางทูม (Mump)
อาการ
ไข้ ปวดศีรษะ เบื่ออาหาร
ปวดขากรรไกรข้างแก้ม
ต่อมน้ำลายหน้าหูบวมโตกดเจ็บ
การรักษา
รักษาตามอาการ
ให้ยาลดไข้ เช็ดตัว
ประคบอุ่น
ดูแลทำตวามสะอาดช่องปาก
อาหารอ่อน
พักผ่อนเพื่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน
ภาวะแทรกซ้อน
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
อัณฑะอักเสบ
ตับอ่อนอักเสบ
ไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever = DHF)
อาการ
ระยะไข้ (Febrile stage)
ไข้สูงลอย 3-5 วัน อาจนานถึง 7วัน
เบื่ออาหาร อาเจียน ตับโต กดเจ็บ ไอไม่มีน้ำมูก
Tourniquet test ได้ผลบวก
มี Petechial rash เกร็ดเลือดต่ำ
ระยะช็อค (Shock stage)
ไข้ลงอย่างรวดเร็ว กระสับกระส่าย
Pluseเบาเร็ว BPลด
Pluse pressure แคบ
อาจมีอาเจียนเป็นเลือด
มีน้ำรั่วในช่องท้องและช่องปอดทำให้ดูบวมขึ้น
ระยะพักฟื้น (Convalescent stage)
ปัสสาวะออกมากขึ้น
หัวใจเต้นช้า
ความรูนแรง
Grade 2
มีไข้และเลือดออกจากอวัยวะภายใน
Grade 3
ช็อค
grade 1
มีไข้ รัด touniquet test ให้ผลบวก
Grade 4
ช็อครุนแรง วัดความดันโลหิตไม่ได้
การวินิจฉัยโรค
HCT มากกว่า 20%
Plt ต่ำกว่า 100000
WBC 2000-5000
CXR พบ pleural effusion
การรักษา
ระยะไข้สูง
ให้ยาลดไข้ ไม่ควรใช้ ASA
ให้น้ำและเกลือแร่อย่างเพียงพอ ควรดื่มน้ำผลไม้และ ORS
ระยะช็อค
ติดตามอาการอย่างใกล้ชิด
Advice ผู้ปกครองถึงอาการ ปวดท้อง ปัสสาวะน้อยลง ไข้ลด
ระยะฟื้นตัว
ต้องหยุดให้สารน้ำ
AIDS
อาการ
Major
น้ำหนักลด ท้องเสียเรื้อรัง
ไข้นานมากกว่า 1 เดือน
ติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนล่าง
Minor
ต่อมน้ำเหลืองโต
ติดเชื้อราในปาก
ผื่นทั่วตัว
การรักษา
ให้ยาต้านไวรัส
ให้ยากระตุ้นภูมิคุ้มกัน
ให้ยาป้องกันโรคติดเชื้อฉวยโอกาส
Advice ผู้ดูแล
ติดเชื้อแบคทีเรีย
คอตีบ (Diphtheria)
อาการ
คอตีบที่จมูก
น้ำมูกเป็นสีเหลืองปนเลือด
ผิวหนังริมฝีปากบนจนถึงจมูกมีแผลถลอก
มีแผ่นเยื่อสีขาวที่ผนังจมูก
Tonsillarและ Pharyngeal
เจ็บคอเล็กน้อย
ช่องคอบวมแดง
เมื่อมีแผ่นเยื่อสีขาว จะมีไข้สูง
ต่อมน้ำเหลืองรอบคอบวมโต : Bullneck
กล่องเสียง
อ่อนเพลีย หายใจไม่สะดวก
มีการอุดตันทางเดินหายใจ
ผิวหนัง
เกิดในแผลเรื้อรัง แผลผ่าตัด อวัยวะเพศ รูหู
การวินิจฉัย
นำแผ่นเยื่อขาวไปเพาะเชื้อ
ภาวะแทรกซ้อน
กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
เส้นประสาทอักเสบ
การรักษา
Diphtheria antitoxin
ให้ Antibiotic : Penicillin
ให้ Digitalis ถ้าหัวใจล้มเหลว
เจาะคอในรายที่หายใจไม่ออกรุนแรง
ไอกรน (Pertussis)
อาการ
Catarrhal stage
คล้ายหวัด น้ำมูก ไข้ต่ำๆ
Paroxysmal stage
ไอรุนแรง จนอาเจียน เขียวหลอดเลือดฝอยใต้เยื่อบุตาแตก
Convalescent stage
อาการไอลดลง
การรักษา
ดื่มน้ำมากๆ
อาหารอ่อน
ยา Phenobarbital
Antibiotic
ภาวะแทรกซ้อน
ปอดอักเสบ
ปอดแฟบ
ชัก
ขาดสารอาหาร
บาดทะยัก(Tetanus)
อาการ
Wound bacterial stage
เชื้อเข้าสู้แผล สามารถรักษาหายได้
Tetanotoxic stage
พิษเข้าสู้กระแสเลือด
Neurologic stage
เกิดอาการทางระบบประสาท
ขากรรไกรแข็ง (Lock jaw)
กลืนลำบาก คอแข็ง ใบหน้าหดเกร็ง
rinus sardonicus
ทารก : ไม่ดูดนม ร้องกวน เขียว
การรักษา
ล้างแผล
ฉีด Antitoxin
Antibiotic
ให้ยากันชัก
ให้ Iv fluid
suction
ใส่ท่อช่วยหายใจ
Tuberculosis
การรักษา
ให้ยา 4 ตัวใน 2เดือนแรก
Isoniacid
Rifampicin
Pyrazinamide
Streptomycin
ให้ยา 2 ตัว 4 เดือนถัดไป
Isoniacid
Rifampicin
วัณโรคปอดและต่อมน้ำเหลืองในต่ออีก 4 เดือน
วัณโรคสมองและกระดูกให้ต่ออีก 10 เดือน