Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลุ่ม 9 การพยาบาลเด็กโรคติดเชื้อ กลุ่มที่ 9 (โรคติดเชื้อแบคทีเรีย (คอตีบ…
กลุ่ม 9 การพยาบาลเด็กโรคติดเชื้อ กลุ่มที่ 9
โรคติดเชื้อไวรัส
โรคหัด (Measles or Rubeola)
เกิดจาก เชื้อ measles virus
ติดต่อโดยการหายใจ ไอ จาม รดกัน หรือสัมผัส น้ามูกน้าลาย ปัสสาวะของผู้ป่วย
ระยะฟักตัว 10-12วัน
ระยะติดต่อ คือ 5วัน ก่อนผื่นขึ้นจนถึง 5วันหลังผื่นขึ้น
อาการและอาการแสดง
มีไข้สูงขึ้นเรื่อยๆ จนสูงสุดวันที่ 3หรือ 4พร้อมกับผื่นขึ้น
น้ามูกไหล ไอ ตาแดง ถ้าดูในปากจะพบจุดขาวเล็กๆ ล้อมรอบด้วยผื่นสีแดง (Koplik s spot)
ลักษณะผื่นจะเป็นแบบ maculopapular rash rashเริ่มที่ไรผม หน้าผาก หลังหูไล่ลงมาตามตัว แขน ขา ตามลาดับ
ไข้ลง แล้วผื่นจะค่อยจางลงเปลี่ยนเป็นสีคล้า ตัวลาย (hyperpigmentation)
อาจตรวจพบต่อมน้าเหลืองบริเวณหลังหูโต
การรักษา
ให้ยาลดไข้ ให้ดื่มน้ามากๆ
ให้ยาแก้ไอ ลดน้ามูก
ถ้าหอบมากให้ออกซิเจน
การป้องกัน
ฉีดวัคซีนตั้งแต่อายุ 9เดือนขึ้นไป
หัดเยอรมัน (Rubella)
เกิดจากเชื้อ ไวรัส RNA ติดต่อทางการหายใจ
ระยะฟักตัว 14-21วัน ระยะติดต่อตั้งแต่ 7วัน ก่อนออกผื่นจนถึง 5วันหลังผื่นขึ้น
พบเชื้อได้ใน nasopharyngeal secretion
อาการและอาการแสดง
มีน้ามูก ไอ ต่อมน้าเหลืองที่ท้ายทอยหลังหูโต กดเจ็บ
มีไข้ไม่เกิน 1 วันหลังผื่นขึ้น ผื่นจะขึ้นบริเวณใบหน้าก่อนและลามลงอย่างรวดเร็ว
การรักษา
หัดเยอรมันมีอาการน้อยและหายได้เร็ว ให้การรักษาตามอาการ
การป้องกัน
โดยการฉีด วัคซีน หญิงที่ฉีดวัคซีนแล้วแนะนาว่าระวังอย่าให้ตั้งครรภ์ภายใน 3 เดือนหลังฉีด
ให้ immune serum globulin ขนาดสูงใน 7 วัน หลังสัมผัสโรค
อีสุกอีใส (Varicella chickenpox)
เกิดจากเชื้อ Varicella zoster
ติดต่อโดยการสัมผัสกับผื่น และทางการหายใจ
ซึ่งเป็นกลุ่ม Herpes virus
ระยะฟักตัว 10-21วัน
ระยะติดต่อคือ 1 วันก่อนผื่นขึ้น จนถึง 6 วันหลังผื่นขึ้น หรือจนกว่าแผลจะแห้ง
อาการและอาการแสดง
มีไข้ ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร 1-2 วันก่อนผื่นขึ้น ผื่นจะเริ่มด้วยตุ่มแดงและเปลี่ยนเป็น papule และกลายเป็นตุ่มน้าใส และแห้งเป็นสะเก็ดอย่างรวดเร็ว
การรักษา
รักษาตามอาการ ให้ยาลดไข้ที่ไม่ใช่แอสไพริน ให้ยาแก้คัน Calamine lotion และยาปฏิชีวนะ ผู้ป่วยที่มี
ภูมิคุ้มกันต่าต้องให้ยาฆ่าเชื้อไวรัสหรือ immun e globulin globulinหลังหลังสัมผัสโรคไม่เกิน 4วัน
Antiseptic soap อ่อนๆ
การป้องกัน
แยกผู้ป่วยอย่างน้อย 5 วันหลังผื่นขึ้น หรือจนกว่าจะตกสะเก็ดหมด
ล้างมือให้สะอาดหลังสัมผัสกับผื่น
ฉีดวัคซีนป้องกันโรค
โรคติดเชื้อไวรัส
คางทูม (Mump)
เกิดจาก mump virus ในน้าลาย
ติดต่อโดยการ ไอ จาม สัมผัสน้าลาย
อาการ
ไข้ ปวดศีรษะ เบื่ออาหาร
ปวดขากรรไกรข้างแก้ม ต่อมน้าลายหน้าหูบวมโต กดเจ็บ
การรักษาตามอาการ
ให้ยาลดไข้ เช็ดตัว
ประคบอุ่นลดปวด
ดูแลความสะอาดปากฟัน
พักผ่อน เพื่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน
ไข้เลือดออก (Dengue Hemorrhagic Fever = DHF)
เกิดจากการติดเชื้อ Dengue Virus ซึ่งมีหลายType
ระยะฟักตัว 5-8 วัน อาการเด่นของโรค คือ ไข้สูง ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดข้อรุนแรง ส่วนที่มีอาการ shock นั้นมักเกิดเมื่อมีการติดเชื้อครั้งที่ 2
อาการและอาการแสดง
ระยะไข้ ( Febrile stage)ไข้จะสูงลอย 3-5วัน อาจนานถึง 7วันอาจมีผื่นหรือจุดเลือดออกเล็กๆ ทา Tourniquet t est
ให้ผลบวกเกล็ดเลือดต่า
ระยะช็อค (shock stage)ไข้ลดลงอย่างรวดเร็ว กระสับกระส่าย ชีพจรเบาเร็ว ความดันโลหิตลด
ระยะพักฟื้น (convalescent stage)น้าและโปรตีนที่รั่วออก เริ่มกลับเข้าสู่ระบบไหลเวียนเลือด จะมีปัสสาวะออกมากขึ้น หัวใจเต้นช้า
การวินิจฉัยโรค
ไข้ ตับโต เลือดออก มีระดับความเข้มข้นของเลือด (Hct.) เพิ่มขึ้นมากกว่า 20% เกร็ดเลือดต่ากว่า 1แสน
WBC ต่า 2000 -5000
cumm.
ภาพรังสีปอดพบ pleural effusion
การรักษา
ระยะไข้สูง
ให้ยาลดไข้ ไม่ควรใช้ แอสไพริน ให้น้าและเกลือแร่อย่างเพียงพอ
ระยะช็อค
ต้องติดตามอาการผู้ป่วยอย่างไกลชิดแนะนาให้พ่อแม่ทราบอาการนาของช็อค
ระยะพักฟื้น
เมื่ออาการเริ่มดีขึ้น ปัสสาวะออกมากขึ้น พ้นระยะช็อคแล้ว ต้องหยุดให้ สารนาทางหลอดเลือดดา เพราะอาจทาให้เกิด fluid
overload
การป้องกัน
ระวังไม่ให้เด็กถูกยุงลายกัด
รณรงค์ กาจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุง
AIDS
(Acquired Immune Deficiency
เชื้อ Human Immunodeficiency Virus (HIV)
ติดต่อทางเพศสัมพันธ์ สารคัดหลั่ง เลือด
มารดาสู่ทารรก : ระหว่างตั้งครรภ์ ระหว่างคลอด หลังคลอด
การวินิจฉัย
Major
นน.ลด
ท้องเสียเรื้อรัง
มีไข้นานมากกว่า 1 เดือน
ติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนล่างรุนแรงเรื้อรัง
Minor
อมน้าเหลืองโตทั่วไป
ติดเชื้อราในปาก คอหอย
ผื่นทั่วตัว
มารดาติดเชื้อ HIV
โรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คอตีบ (Diphtheria
แบคทีเรียที่เป็นสาเหตุ คือ Corynebacterium
diphtheriae
ติดต่อได้ทางลมหายใจ โดยการไอ จามรดกัน หรือสัมผัสสิ่งของเครื่องใช้ของผู้ป่วย
พบโรคได้บ่อยในเด็กอายุ 1-5ปี เมื่อเชื้อเข้าสู่ร่างกายจะไม่เข้าสู่กระแสโลหิต
พยาธิสภาพ
เยื่อบุทางเดินหายใจเกิดเยื่อสีขาวแกมเทาติดแน่น
อาการและอาการแสดง
ระยะฟักตัวของโรคใช้เวลาประมาณ 2-6 วัน อาการขึ้นกับตาแหน่งของแผ่นเยื่อ
การวินิจฉัย
นาเนื้อเยื่อบริเวณใต้แผ่นเยื่อไปเพาะเชื้อ ตรวจ C BC จะตรวจพบเม็ดเลือดขาวสูงกว่าปกติ
ภาวะแทรกซ้อน
กล้ามเนื่อหัวใจอักเสบ
เส้นประสาทอักเสบ
การรักษา
Diphtheria antitoxin ให้เร็วที่สุดหลังจากการทดสอบการแพ้แล้ว เพื่อไปล้างทอกซินที่อยู่ในกระแสเลือดและที่จับกังเนื้อเยื่ออย่างหลวม ๆ
ยาปฏิชีวนะ ให้ PenicillinPenicillinเพื่อกาจัดเชื้อ ฉีดหรือกิน นาน 7-10 วัน
การป้องกัน
ฉีดวัคซีนป้องกัน รวมทั้งผู้ที่หายจากโรคแล้วด้วย
ดูแลผู้ที่สัมผัสโรค และพาหะนาโรค
แยกผู้ป่วยเพื่อป้องกันการแผ่กระจายโรค
โรคไอกรน(Pertussis)
เกิดจากเชื้อ Bordetella pertussis เป็นเชื้อแกรมลบ
ติดต่อโดยการไอจามรดกัน ระยะติดต่อเกิดได้ตั้งแต่ 7วันหลังรับเชื้อ จนถึง 3สัปดาห์ จากมีอาการไอ
อาการแ บ่งเป็น 3 ระยะ
Convalescent stage : อาการไอค่อย ๆ ลดลง
Paroxysmal stage : ไออย่างรุนแรง เป็นชุด จนอาเจียน เขียว จนหลอดเลือดฝอยใต้เยื่อบุตาแตก
Catarrhal stage : คลายหวัด ไข้ต่า ๆ น้ามูก คัดจมูก จาม
การรักษา
ประคับประครอง : ดื่มน้ามากๆ อาหารอ่อน ยา phenobarbital
ให้ ATB
ใส่เครื่องช่วยหายใจ
ภาวะแทรกซ้อน
ปอดอักเสบ ปอดแฟบ ชัก ขาดสารอาหาร
บาดทะยัก(Tetanus)
เกิดจากเชื้อ Costridium tetani
เข้าสู่ร่างกาย ทางบาดแผล ในทารกเข้าทางสายสะดือที่ถูกตัด
อาการ
Wound bacterial stage : เชื้อเข้าสู่แผล ยังไม่ผลิตสารพิษ สามารถรักษาหายได้
Tetanotoxic stage : สารพิษเข้าสู่กระแสเลือด แต่ ทอกซิน ยังไม่จับกับเซลประสาทส่วนกลาง
Neurologic stage : เกิดอาการทางระบบประสาท
ขากรรไกรแข็ง อ้าปากไม่ขึ้น (Lock
หน้าแสยะยิ้ม rinus sardonicus)
กลืนลาบาก คอแข็ง ใบหน้าหดเกร็ง
ในทารกแรกเกิด ไม่ดูดนนม ร้องกวน เขียว
การรักษา
ประคับประคอง
ล้างแผล ฉีด Antitoxin
วัณโรค (Tuberculosis)
เชื้อ Mycobacterium tuberculosis
ทา Tuberculin test
ติดได้ใน ปอด ต่อมน้าเหลือง เยื่อหุ้มสมอง กระดูกและข้อ
การรักษา
ผู้สัมผัส IsoniacidIsoniacidนาน 3 66เดือน
ผู้ติดเชื้อระยะแผง IsoniacidIsoniacidนาน 6-9เดือน
ผู้เป็นโรค ให้ยา 4ตัว ใน 2 เดือนแรก Isoniacid,Rifampicin,Pyrazinamide, Streptomycin หรือ Ethambuta
4 เดือนต่อมา ลดเหลือ 2ตัว คือ Isoniacid + Rifampicin
ลดเหลือ 2ตัว คือ Isoniacid + Rifampicin
วัณโรคปอด และต่อมน้าเหลือง ให้ต่ออีก 4 เดือน
วัณโรคสมอง, กระดูก ให้ต่ออีก 10 เดือน