Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลุ่มที่ 5 การพยาบาลผู้ป่วยเด็ก โรคระบบหัวใจ (หัวใจ(Heart) LES…
กลุ่มที่ 5 การพยาบาลผู้ป่วยเด็ก
โรคระบบหัวใจ
หัวใจ(Heart)
หัวใจแบ่งออก
เป็น 2 ซีก
หัวใจซีกขวา
มีหน้าที่ส่งเลือดที่ใช้แล้วจากส่วนต่างๆ ของร่างกายไปยังปอด เพื่อฟอกให้เป็นเลือดดี
หัวใจซีกซ้าย
มีหน้าที่รับเลือดดีจากปอดส่งไปยังส่วนต่างๆของร่างกาย
แต่ละซีกจะแบ่งเป็นห้อง คือ ห้องบน(atrium) และห้องล่าง(ventricle)
ผนังของหัวใจ ประกอบด้วย กล้ามเนื้อหัวใจ (myocardium) เป็นกล้ามเนื้อที่ไม่อยู่ในอำนาจของจิตใจ กล้ามเนื้อหัวใจซีกซ้ายจะหนากว่าซีกขวาเพราะต้องเกร็งตัว เพื่อบีบเลือดออกจากหัวใจโดยต้านแรงดันในระบบไหลเวียนเลือด
กล้ามเนื้อหัวใจมีเยื่อบุหัวใจ
เยื่อบุชั้นใน เรียกว่า endocardium
เยื่อบุชั้นนอก เรียกว่า epicardium ในชั้นนี้จะมีหลอดเลือด เส้นประสาท และมีไขมันแทรกอยู่
ลิ้นหัวใจ
ทำหน้าที่ป้องกันการไหลย้อนของเลือด
คู่ที่ 1 A-V valve
Tricuspid valve คือ ลิ้นที่กั้นหัวใจห้องบนขวาและล่างขวา
ฺBicuspid หรือ Mitral valve คือ ลิ้นกั้นหัวใจห้องบนซ้ายและล่างซ้าย
คู่ที่ 2 Semilunar valve
Pulmonary valve คือ ลิ้นกั้นหัวใจล่างขวากับ pulmonary artery
Aortic valve คือ ลิ้นกั้นหัวใจล่างซ้ายกับ aorta
กลไกการไหลเวียนเลือด
เมื่อหัวใจบีบตัวส่งเลือด (systole) และความดันสูงสุดจากการบีบตัวของหัวใจเรียกว่า systolic pressure ส่วนความดันต่ำสุดเรียกว่า Diastolic pressure โดยจากเริ่มจากเลือดดำจากส่วนบนมารวมกันใน superior vena cava เข้าสู่ right atrium ส่วนเลือดดำจากส่วนล่างรวมกันใน inferior vena cava ไหลเข้าสู่ right atrium จึงไหลผ่านลิ้น tricuspid ลง right ventricle เมื่อหัวใจบีบตัวเลือดดำจาก right ventricle จะผ่าน pulmonary valve เข้าไปใน pulmonary artery เข้าสู่ปอดขวาและซ้ายรับออกซิเจนกลายเป็นเลือดแดงไหลกลับเข้าหัวใจทาง pulmonary vein ข้างขวาและซ้ายรวมกันเข้าไป left atrium ผ่าน mitral valve ลงใน left ventricle ในจังหวะหัวใจคลายตัว เมื่อหัวใจบีบเลือดแดงจะผ่าน aortic valve เข้าสู่ aorta ไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย
Congenital heart disease
สาเหตุ
การติดเชื้อ : rubella 1 3 เดือนแรกของการตั้งครรภ์
ได้รับยา/ฮอร์โมนบางชนิด : ยาระงับชัก ระงับประสาท ดื่มสุรา
เป็นโรค : เบาหวาน หัวใจพิการแต่กำเนิด
ผิดปกติทางพันธุกรรม : Trisomy 13,18,21
ประเภท
Acyanotic heart disease (ไม่เขียว)
กลุ่มที่มีเลือดลัดจากซ้ายไปขวา (Left to Right Shunt)
Atrial Septal Defect (ASD) : มีรูรั่วระหว่างผนังกั้นห้องหัวใจส่วนบน
Ventricular Septal Defect (VSD) : มีรูรั่วระหว่างผนังกั้นห้องหัวใจส่วนล่าง
Patent Ductus Arteriosus (PDA) : ความผิดปกติของเส้นเลือดใหญ่ระหว่างหัวใจและปอด
อาการและอาการแสดง
เหนื่อยง่าย เวลาออกแรง, เด็กเล็กดูเวลาดูดนม เขียว, หอบ
เป็นหวัด ปอดอักเสบบ่อยๆ
รูรั่วน้อย : ไม่มีอาการ แต่ได้ยินเสียง murmur
รูรั่วใหญ่
ASD : เหนื่อยง่าย ล้มเหลวไม่รุนแรง
VSD : ล้มเหลวใน 4-6 สัปดาห์
PDA : ล้มเหลวได้
การรักษา
ประคับประคอง
ให้ยา PDA เล็ก indomethacin
ผ่าตัด : เช่น
ทา ligation of PDA
แบบเปิด
แบบปิด ใช้ เครื่องปอดหัวใจเทียม cardiopulmonary bypass (CPB)
Cyanotic heart
disease (มีอาการเขียว)
กลุ่มที่มีเลือดลัดจากขวาไปซ้าย (Right to Left Shunt)
Tetralogy of Fallot (TOF)
ความผิดปกติ
VSD
Pulmonary Stenosis
Ventricular Hypertrophy
Overiding of Aorta Aorta
อาการ
เขียวขณะร้อง (Hypoxic spell) เป็นลมหมดสติ
เหนื่อย แล้วนั่งยองๆ (squatting)
การรักษา
ให้ Oxygen
จัดท่า Knee chest position
Sedation
ให้ IV fluid
ให้ยา Sodium bicarbonate และ Propanolol
ผ่าตัด
Transposition of Great Vessel (TGV/TGA)
อาการ
เขียวมาก
หัวใจวายตั้งแต่แรกเกิด
การรักษา
ให้ยา prostagrandin E2 เพื่อบรรเทาอาการ
ผ่าตัดรักษาทันที
ชนิดที่เส้นเลือดใหญ่ของหัวใจและปอดสลับกัน
Total anomalous Pulmonary
Venous Return (TPVR)
ความผิดปกติของเส้นเลือดปอดที่นำเลือดกลับมายังหัวใจ
Acquired heart disease
โรคของลิ้นหัวใจ
Rheumatic heart disease
อาการ
มีไข้
อ่อนเพลีย เหนื่อยล้า
เจ็บหน้าอก
หายใจหอบ
กล้ามเนื้อกระตุก
มีผื่นแดง
มีปุ่มใต้ผิวหนัง
ลิ้นหัวใจอักเสบเรื้อรัง
การรักษา
รักษาภาวะหัวใจวาย
ผ่าตัดลิ้นหัวใจในรายที่เป็นมาก
โรคลิ้นหัวใจที่พบบ่อยที่สุด เกิดตาม
หลังไข้รูมาติก และมีอาการหัวใจวาย
Infective endocarditis
สาเหตุ
การติดเชื้อของลิ้นหัวใจ
เชื้อที่พบบ่อย
Streptococcus
Staphylococcus
มักพบในผู้ที่มีหัวใจพิการหรือใส่ลิ้นหัวใจเทียม
อาการ
มีไข้
หัวใจวาย
หัวใจมีเสียง murmur
เส้นเลือดอุดตัน
การรักษา
รักษาภาวะหัวใจวาย
ให้ยา antibiotic
แก้ embolic
ผ่าตัด
การป้องกัน
ให้ยาปฏิชีวนะป้องกันการติดเชื้อ เมื่อทำหัตถการบางชนิด
ในผู้ป่วยหัวใจพิการแต่กาเนิด ผ่าตัดหัวใจ สวน/ใส่หัวใจเทียม
ไม่ต้องให้ยา
Intubation
Cesarean section
การใส่/ถอด IUD
Myocarditis
กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
สาเหตุ
มักเกิดจากการติดเชื้อ
มีอาการหัวใจวายโดยไม่มี murmur
การรักษา
รักษาภาวะหัวใจวาย
รักษาสาเหตุ antibiotic
รักษาภาวะแทรกซ้อน หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ให้ steroid ในรายที่เป็นมาก
Pericarditis
เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อ/หลังผ่าตัดหัวใจ
อาการ
ไข้ เจ็บหน้าอก หัวใจวาย เสียงหัวใจเบาลง
มีน้าในเยื่อหุ้มหัวใจ (pericardial effusion)
การรักษา
รักษาภาวะหัวใจวาย
ระบายน้า เจาะ ดูดออก ผ่าตัด
ให้ antibiotic
ให้ aspirin ในรายที่เป็นมาก
การประเมินสภาพ
ผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจ
การซักประวัติ
ประวัติการคลอด
GA
Apgar score
การเจ็บป่วยของ
มารดาขณะตั้งครรภ์
ไข้ออกผื่น : 3 เดือนแรก หัดเยอรมัน
ได้รับยาบางชนิด
การฉายรังสี
การเลี้ยงดู
เลี้ยงไม่โต
หอบเหนื่อยง่าย
โรคทางเดินหายใจอักเสบบ่อยๆ : Lt. to Rt. Shunt
เขียว ชอบนั่งยองๆเวลาเหนื่อย(squatting)
: Rt. To Lt. Shunt
ตัวอย่าง
Acquired heart disease
ปวดตามข้อ
ผื่นขึ้น
เคลื่อนไหวผิดปกติ
การตรวจร่างกาย
พิการแต่กำเนิด
ท่านั่งยองๆเวลาเหนื่อย(squatting)
เขียวตามปาก เล็บมือ เล็บเท้า
เล็บมือผิดปกติ(clubbing)
ผื่นผิวหนัง ข้อบวม เคลื่อนไหวผิดปกติ
การตรวจทาง
ห้องปฏิบัติการ
CXR
: ขนาดของหัวใจ ภาวะเลือดในปอด
EKG
: ขนาดของหัวใจ ภาวะการเต้นของหัวใจ
Echocardiogram :
ความพิการหรือการทำงานของหัวใจ
Cardiac catheterization
: ความดัน ความเข้มข้นของเลือดตามช่องต่างๆ และหลอดเลือดใหญ่
การพยาบาลเด็กโรคหัวใจที่ได้รับการผ่าตัด
การทำให้เลือดจาง
: โดยใช้ยาละลายลิ่มเลือด
การลดอุณหภูมิร่างกาย
: 18 องศาเซลเซียส
การทำให้หัวใจหยุดเต้นระหว่างผ่าตัด
: เครื่องปอดและหัวใจเทียม
ร่างกายเสี่ยง/ได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ
ความดันต่ำลง
CVP สูงขึ้น
ปัสสาวะออกน้อย
Capillary filling ไม่ดี
เลือดเป็นกรด
กระสับกระส่าย สับสน ซึม
เสี่ยง/มีภาวะเลือดออก
ไม่หยุด ออกง่ายหยุดยาก
เลือดใน drain ออกมากกว่า 5 8 มล./กก./ชม.
ปรับยาที่ช่วยในการแข็งตัวของเลือดยังไม่เหมาะสม
เกล็ดเลือดผิดปกติ (ต่ำ)
ปัญหาที่อาจเกิดขึ้น
ภาวะความดันหลอดเลือดในปอดสูง
ภาวะหัวใจล้มเหลว
ภาวะช่องรอบหัวใจถูกกด
ภาวะหัวใจเต้นผิดปกติ
ภาวะไม่สมดุลของน้ำและอิเล็คโตรไลท์
อาจได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ
การติดเชื้อในระบบต่างๆหลังผ่าตัด
ภาวะอุณหภูมิกายต่ำ
ภาวะโลหิตจาง
ความเจ็บปวด
พัฒนาการล่าช้า
Heart failure
อาการ
อาการทั่วไป
เหนื่อยเวลาดูดนม โตช้า ขาดอาหาร
ชีพจรเบาเร็ว มือเท้าเย็น เหงื่อออกมาก
ปัสสาวะบ่อย
บวม
อาการหัวใจ
ด้านซ้ายวาย
Tachynea
Orthopnea
Paroxysmal noctunal dyspnea
Crepitation
Cardiomegaly
อาการหัวใจ
ด้านขวาวาย
Cardiomegaly
Hepatomegaly
Engorged neck vein
Ascites
การดูแลรักษา
นอนศีรษะสูง bed rest
ให้ oxygen
จำกัดเกลือและน้ำ
ให้ยาขับปัสสาวะ
ยาเพิ่มแรงหัวใจบีบตัว digitalis
ผ่าตัด
จัดทำโดย
กลุ่มที่ 5
1.นพร.ชุติกาญจน์ ม่วงไหมทอง เลขที่ 20
2.นพร.นฤนาฎ จันทร์พงศ์ เลขที่ 36
3.นพร.ปวีณ์ธิดา พรมศรี เลขที่44
4.นพร.มัณฑนา ศรีนาค เลขที่ 60
5.นพร.วารุณี แก้วชมชื่น เลขที่ 65
6.นพร. วิลาวรรณ หงส์สุนันท์ เลขที่
7.นพร. สุภัสสรา อยู่เอม เลขที่ 73
8.นพร. เสาวลักษณ์. โฮนอก เลขที่ 75