Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 3 การทบทวนวรรณกรรมในการวิจัย ทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร…
หน่วยที่ 3
การทบทวนวรรณกรรมในการวิจัย
ทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดเกี่ยวกับการทบทวนวรรณกรรม
ในการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความหมายและความสำคัญ
ของการทบทวนวรรณกรรมฯ
กระบวนการวิจัย
การดำเนินการวิจัย
การรายงานและเผยแพร่ผลวิจัย
การเตรียมการวิจัย
การสนับสนุน
การดำเนินการวิจัย
มองเห็นปัญหาที่อาจเกิดขึ้น
ประหยัดเวลา แรงงาน งบประมาณ
งานวิจัย มีคุณค่า น่าเชื่อถือ
หลีกเลี่ยงการทำวิจัยซ้ำ
วัตถุประสงค์ กิจกรรม
และข้อควรปฏิบัติ
ในการทบทวนวรรรกรรม
วัตถุประสงค์
หลีกเลี่ยงการทำวิจัยซ้ำ
กำหนดขอบเขต เลือกปัญหาที่มีประโยชน์และทันสมัย
กำหนดกรอบแนวคิดและสมมติฐาน
สร้างความมั่นใจให้มีวินัย
ออกแบบการวิจัยและเลือกวิธีที่เหมาะสม
เพื่อเขียนรายงานการวิจัยที่น่าเชื่อถือ
ข้อควรปฏิบัติในการทบทวนวรรรกรรม
ทบทวนวรรณกรรมอย่างมีเป้าหมาย
สืบค้น/จัดหาจากสารสนเทศทุกช่องทาง
ทบทวนวรรรกรรมตลอดการวิจัย
ทันสมัย/เป็นปัจจุบัน
อ้างอิงวรรณกรรมอย่างถูกต้องและเหมาะสม
คัดสรร/จัดหมวดหมู่/วิเคราะห์
สังเคราะห์ แล้วประมวลผลเป็นข้อสรุป
การค้นคว้าวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องในการวิจัยทางส่งเสริมและพัมนาการเกษตร
ขั้นตอนการค้นคว้า
วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
สืบค้น/จัดหาวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
อ่านและจดบันทึกสาระจากวรรณกรรม
ระบุวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องและแหล่งวรรณกรรม
เตรียมการวิเคราะห์และสังเคราะห์วรรณกรรม
กำหนดวัตถุประสงค์และขอบเขต
การกำหนดขอบเขต การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ
และการระบุแหล่งที่มาในการทบทวนวรรณกรรมฯ
การสืบค้นข้อมูล
อินเตอร์เน็ต
แหล่งอื่นๆ
ห้องสมุด
การระบุแหล่งที่มา
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
วารสาร
หนังสือ
การกำหนดขอบเขต
กำหนดคำสำคัญ
กำหนดประเด็นที่จะทบทวน
ประเภทและขอบเขต
ของวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องฯ
ขอบเขต
เนื้อหาเชิงทฤษฎีและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
เนื้อหาเชิงเทคนิควิธีการวิจัย
ประเภท
จำแนกตามลักษณะเนื้อหาสาระในวรรณกรรม
จำแนกตามการจัดทำวรรณกรรม
จำแนกตามลักษณะของวรรณกรรม
การนำเสนอวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
ในการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การนำเสนอวรรณกรรมทั่วไปที่เกี่ยวข้องฯ
จัดลำดับการนำเสนอ
เลือกเนื้อหาสาระตรงประเด็นและเหมาะสม
กำหนดโครงสร้าง
คำนึงถึงผู้อ่าน
กำหนดเป้าหมายชัดเจน
เขียนตามโครงสร้างและเชื่อมโยงให้บรรลุเป้าหมาย
สรุปกระทัดรัดชัดเจนและสัมพันธ์กับเรื่องที่วิจัย
การอ้างอิง
การตรวจสอบและปรับปรุงงานเขียน
การนำเสนอวรรณกรรมที่เป็นงานวิจัยที่เกี่ยวข้องฯ
จัดลำดับเนื้อหาด้วยใจเป็นกลาง
สรุปเพื่อแสดงตัวแปรที่จะศึกษาและกำหนดกรอบแนวคิด
จัดหมวดหมู่และระบุชื่อผลงาน
การอ้างอิง
เขียนในลักษณะเรียบเรียง
ตรวจสอบและปรับปรุงงานเขียน
เขียนตรงประเด็นในขอบเขตงานวิจัย
หลักการ และขั้นตอนการ
นำเสนอวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องฯ
หลักการ
นำเสนอตามวัตถุประสงค์การวิจัย
การวางโครงร่าง
การนำเสนอที่เหมาะสมกับผู้อ่าน
การใช้ภาษาในการนำเสนอ
ขั้นตอน
กำหนดโครงร่างของรายงาน
เขียนร่างรายงาน
ตรวจสอบคุณค่า จัดกลุ่ม วิเคราะห์ สังเคราะห์สาระ
ประเมินและปรับปรุง/แก้ไข
การประเมินคุณภาพ
ของรายงานวรรรกรรมที่เกี่ยวข้องฯ
คุณภาพทั่วไปของวรรณกรรม
ที่ไปสืบค้นมา
ความสามารถและความพยายามของผู้วิจัย