Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเขียนรายงาน การประกันคุณภาพทางการศึกษา (Self - Assessment Report: SAR)
การเขียนรายงาน
การประกันคุณภาพทางการศึกษา
(Self - Assessment Report: SAR)
ความหมาย
การจัดทำรายงานประเมินตนเองของสถานศึกษา เป็นการนำเสนอผลการดำเนินงาน ในการพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในรอบปีที่ผ่านมาซึ่งเป็นผลมาจากการดำเนินงาน ทั้งหมดของสถานศึกษาที่ครอบคลุมมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และนำเสนอรายงาน ต่อคณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เปิดเผยต่อสาธารณชน
ขั้นตอนการจัดทำรายงานการประเมินตนเอง
3.เขียนรายงานประเมินตนเองของสถานศึกษา
สถานศึกษาสามารถกำหนดรูปแบบรายงานประเมินตนเองของสถานศึกษา ได้ทั้งในเซิงปริมาณ และคุณภาพตามความเหมาะสม
4.นำเสนอคณะกรรมการสถานศึกษาพิจารณาให้ความเห็นขอบ
หลังจากเขียนรายงานประเมินตนเองเสร็จสมบูรณ์ สถานศึกษาจะต้องนำเสนอ ต่อคณะกรรมการสถานศึกษา เพื่อรับรองผลการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
2.รวบรวมข้อมูลสารสนเทศ
1.ข้อมูลทั่วไปของสถานศึกษา
2.ข้อมูลที่เป็น ผลการประเมิน
5.รายงานและเปิดเผยต่อผู้เกี่ยวข้อง
เมื่อรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาได้รับความเห็นขอบจาก คณะกรรมการสถานศึกษาแล้ว สถานศึกษาจะต้องรายงานเผยแพร่
1.แต่งตั้งคณะทำงาน
ประกอบด้วย คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้บริหาร ครู และบุคลากรผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
ประโยชน์
3.ทำให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง ตลอดจนผู้มีส่วนเกี่ยวช้องทุกฝ่ายได้รับทราบผล การพัฒนาการจัดการศึกษาชองสถานศึกษาทั้งในส่วนที่คืและส่วนที่ควรพัฒนา
หน่วยงานต้นสังกัด ได้แก่ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาชั้นพื้นฐาน และ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มีฐานข้อมูลในการกำหนดนโยบายการพัฒนาการจัดการศึกษา
2.ทำให้สถานศึกษามีข้อมูลสารสนเทศเชิงประจักษ์ซึ่งจะช่วยกระตุ้นให้ผู้บริหาร สถานศึกษา ครูและผู้เกี่ยวช้องให้ความสำคัญ
สถานศึกษาใช้รายงานประเมินตนเองเพื่อรับรองการประเมินคุณภาพภายใน
ทำให้สถานศึกษามีฐานข้อมูลการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ทั้งในด้านจุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา
รายงานการประเมินตนเอง ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ ศ 2561
ส่วนที่ 2 ผลการประเมินมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรวมทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ตั้งแต่ 3.0 ขึ้นไป
ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรในระดับดีขึ้นไป
ค่าเฉลี่ย O-net
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ผู้สอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ระดับดีขึ้นไป
ผู้สอนใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย
ผู้สอนมีการประเมินสมรรถนะในระดับดีขึ้นไป
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
ร้อยละ/ระดับคุณภาพการบริหารจัดการโครงสร้างพื้นฐานที่มีประสิทธิภาพ
ร้อยละ/คะแนนเฉลี่ย/ระดับคุณภาพสถานศึกษามีการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ
คะแนนเฉลี่ย/ร้อยละ ผลการประเมินสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา
ส่วนที่ 3 สรุปผล และแนวทางการพัฒนา
จุดพัฒนา
แนวทางพัฒนาในอนาคต
จุดเด่น
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน
ข้อมูลบุคลากรของสถานศึกษา
ข้อมูลนักเรียน
ข้อมูลทั่วไป