Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยงานควบคุมคุณภาพมาตรฐานและตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษาในปัจจุบัน…
หน่วยงานควบคุมคุณภาพมาตรฐานและตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษาในปัจจุบัน
มาตรฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายนอก รอบสี่ (พ.ศ. 2559-2563(ปัจจุบัน)
เป้าหมายการประเมิน
ระยะ 2
เพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
ระยะ 3
เพื่อส่งเสริมคุณภาพการจัดการศึกษา
ระยะ 1
เพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
ระยะ 4
เพื่อเทียบเคียงกับนโยบายชาติและบริบทสากล
ระดับคุณภาพของ สมศ.
ดี
เหมาะสม เป็นไปได้ น่าเชื่อถือ
พอใช้
เหมาะสม เป็นไปได้ น่าเชื่อถือ ไม่ครบบางประเด็น
ดีมาก
เหมาะสม เป็นไปได้ น่าเชื่อถือ ต่อเนื่อง
ปรับปรุง
ไม่สามารถดำเนินการได้เป็นส่วนใหญ่
ดีเยี่ยม
เหมาะสม เป็นไปได้ น่าเชื่อถือ ต่อเนื่อง เป็นต้นแบบ
การจัดการศึกษา
การศึกษาขั้นพื้นฐาน (Basic Education)
ด้านการอาชีวศึกษา (Teching and VocationalEducation)
การศึกษาปฐมวัย (Early Childhood Education)
ระดับอุดมศึกษา(Higher Education)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมิน
มี 7 ด้าน 20 ตัวบ่งชี้ คะแนนของตัวบ่งชี้ละ 5 คะแนน รวม 100 คะแนน
สัมพันธ์กับชุมชน
ทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
การบริหารและธรรมาภิบาล
อัตลักษณ์
คุณภาพครู/อาจารย์
มาตรการส่งเสริม
คุณภาพศิษย์
มาตรฐานเพื่อการประกัน คุณภาพภายใน
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
ตัวบ่งชี้
2.3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพ ผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา
2.4 พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมให้ เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้
2.1 มีเป้าหมายวิสัยทัศน์ที่กำหนดชัดเจน
2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสับสนุนการ บริหารจัดการ
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียน การสอน ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ตัวบ่งชี้
3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
3.4 ตรวจสอบ ประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ
3.2 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่เอื้อต่อการเรียนรู้
3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อ พัฒนาปรับปรุง
3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิด ปฏิบัติจริง
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
ตัวบ่งชี้ 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
สร้างนวัตกรรม
คิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
การอ่าน เขียน คิดคำนวณ
มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน เจตคติที่ดีต่องานอาชีพ
ตัวบ่งชี้ 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย
การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่าง
คุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด
สุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม
หน่วยงานควบคุมคุณภาพ
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน หรือ สพฐ.
หน้าที่ รับผิดชอบการจัดการศึกษาในระดับพื้นฐานตั้งแต่ระดับปฐมวัยจนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
หน่วยงานในสังกัด
ประถมศึกษา จำนวน 183 เขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา จำนวน 42 และหน่วยงานส่วนกลาง 17 หน่วย
เป็นสำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน มีเลขาธิการคณะกรรมการเป็นหัวหน้าขึ้นตรงต่อ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ.
หน้าที่
3.ให้การรับรองผู้ประเมินภายนอก
4.กำกับดูแลและกำหนดมาตรฐานการประเมิน คุณภาพภายนอก
2.พัฒนามาตรฐานและเกณฑ์สำหรับการ ประเมินภายนอก
5.พัฒนาและฝึกอบรมผู้ประเมินภายนอก
1.พัฒนาระบบการประเมินคุณภาพภายนอก
ความสำคัญ
การจัดการศึกษาให้มีคุณภาพนั้น จะต้องมีการประเมินผลเพื่อให้เกิดการพัฒนา การประเมินทำให้รู้ถึงจุดอ่อน หรือปัญหา ที่ต้องปรับปรุงและวาง แผนดำเนินงานให้บรรลุเป้าหมายอย่างมีคุณภาพ