Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยโรคติดต่อเเละโรคติดเชื้อ (Malaria (อาการ (มีไข้สูง…
การพยาบาลผู้ป่วยโรคติดต่อเเละโรคติดเชื้อ
Melioidosis
การรักษา
•การรักษาระยะแรกด้วย Cetazidime 40 mg / kg (Max 1 gm) ฉีดเข้าหลอดเลือดดำทุก 8 ชั่วโมงหรือ Meropenam 25 mg / kg (Max 1 gm) ฉีดเข้าหลอดเลือดดำทุก 8 ชั่วโมง
•การรักษาต่อเนื่องในผู้ป่วยถวรให้ Co-trimoxazole Doxycycline ระยะเวลาของการรักษาระยะแรกประมาณ 2 สัปดาห์
พยาธิ
•เชื่อก่อโรคที่อาศัยอยู่ในดินเข้าสู่ร่างกายทางผิวหนังที่มีแยกหรือการสูดเข้าสู่ปอด
•เชื้อสามารถสร้างสารพิษหลายชนิดทั้ง Lipopolysaccharides, Enzyme, Endotoxin
•ทำให้เกิดอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อและ Septic Shock
เป็นโรคติดเชื้อจากแบคทีเรีย Burkholderia pseudomallei
Leptospirosis
การพยาบาล
การตรวจร่างกาย
•จะพบไข้สูงอาจมีหนาวสั่น
•ปวดศีรษะปวดกล้ามเนื้อน่องและบั้นเอว
•จออักเสบแดงเยื่อบุตาแดงเป็นต้น
การชักประวัติประวัติการสัมผัสโรค
•อาชีพ
•ที่อยู่อาศัย
•สิ่งแวดล้อม
•ฤดูกาลความชุกของโรค
การตรวจทางห้องปฏิบัติการการตรวจเลือด Neutrophils, Bilirubin, SGOT, SGPT, BUN, Cr. PT, PTT, INR พบ Thrombocytopenia •การตรวจปัสสาวะพบ RBC, Bilirubin, Albumin
พยาธิ
•เชื้อ Leptospira interogans เข้าสู่ร่างกายโดยผ่านทางผิวหนังที่มีรอยแผลหรือเยื่อเมือก•หลังจากนั้นจะเข้าสู่กระแสเลือด•แบ่งตัวแพร่กระจายไปยังอวัยวะต่างๆ•ร่างกายจะกำจัดเชื้อโรคนี้ด้วยกระบวนการ Phagocytosis และระบบน้ำเหลือง
Scub typhus infection disease
การพยาบาล
•ผู้ป่วย Scrub typhus ตอบสนองต่อ Tetracycline และChloramphenicalไข้จะลดลงภายใน 24-48 ชั่วโมง
• Tetracycline 25 mg / kg / day X 4 ครั้งนาน 7 วันหรือ
• Chloramphenicol 50 mg / kg / day X 4 ครั้งนาน 7 วันเกิดซ้ำรักษาด้วย Doxycycline
พยาธิสรีรวิทยาเชื้อ Orientia tsutsugamushi เป็นแบคทีเรียที่ต้องอาศัยอยู่ภายในเซลล์เมื่อเชื้อผ่านเข้าผิวหนังบริเวณที่ถูกไรอ่อนกัดจะมีการแบ่งตัวในบริเวณดังกว่าวเกิดเป็นแผลและกลายเป็นสะเก็ดดำลักษณะคล้ายบุหรี่เรียกว่า“ Echar” •อาจมีต่อมน้ำเหลืองโตเฉพาะที่หรือโตทั่ว•ริกเก็ตเชียจะอาศัยอยู่ภายในเซลล์เยื่อบุหลอดเลือดในอวัยวะต่างๆทั้งหัวใจปอดสมองไตตับอ่อนผิวหนังtext
•โรคนี้เกิดจาการติดเชื้อ Orientia tsutsugamushi เดิมชื่อว่า Rickettsia tsutsugamushi • Orientia tsutsugamushi มีพาหะนำโรคถือไรอ่อน (Chigger) ซึ่งมักพบในที่ชื้นและอากาศค่อนข้างเย็นโดยเฉพาะช่วงหลังฤดูฝน
Tetanus
การรักษา
•ผู้ป่วยควรได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดในห้องแยกห้องผู้ป่วยระยะวิกฤตเพื่อลดการกระตุ้นจากสิ่งแวดล้อม•ได้รับการใส่ท่อช่วยหายใจหรือเจาะดอและใช้เครื่องช่วยหายใจเพราะอาจเกิดการหยุดหายใจหรือทางเดินหายใจอุดกั้นได้•การรักษาเฉพาะจะให้ tetanus antitoxin (TAT) 10, 000-20, 000 หน่วยเข้าหลอดเลือดหรือให้ tetanus immune globulin (TIG) 3, 000-6, 000 หน่วยเข้ากล้ามเนื้อเพื่อทำลาย tetanus toxin ที่ยังไม่จับที่ระบบประสาทใช้ยาปฏิชีวนะ penicillin ขนาดสูงเพื่อทำวายใช้อที่บาดแผลและให้การรักษาตามอาการ
อาการ
อาการชักเกร็งหรือกล้ามเนื้อขากรรไกรหดเกร็ง ซึ่งอาจทำให้เจ็บปวดและอ้าปากลำบาก
กล้ามเนื้อที่ลำคอหดเกร็งจนเกิดอาการเจ็บปวด กลืนและหายใจลำบาก
มีอาการหดเกร็งที่กล้ามเนื้อส่วนอื่น ๆ ตามมา เช่น ช่องท้อง หลัง และหน้าอก
ร่างกายกระตุกและเจ็บเป็นเวลานานหลายนาที ซึ่งมักเกิดจากสิ่งกระตุ้นเล็ก ๆ น้อย ๆ เช่น เสียงดัง ลมพัด การถูกสัมผัสร่างกาย หรือการเผชิญกับแสง
•โรคบาดทะยักจุลชีพก่อโรคถือ Clostridium tetani ไม่ทนความร้อนและอากาศสร้างสปอร์ทนความร้อนและสารเคมีต่างๆได้ดี
Malaria
สาเหตุ :จากการติดเชื้อโปรโตซัว พลาสโมเดียม (Plasmodium)
พลาสโมเดียม ฟัลซิพารัม (Plasmodium Falciparum)
พลาสโมเดียม ไวแว็กซ์ (P.Vivax)
พลาสโมเดียม มาลาริอี่ (P.Malariae)
พลาสโมเดียม โอวาเล่ (P.Ovale)
พลาสโมเดียม โนว์ไซ (P. Knowlesi)
อาการ
มีไข้สูง หนาวสั่น
เหงื่อออกมาก
ปวดศีรษะ
คลื่นไส้ อาเจียน
ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ
ท้องเสีย
ภาวะโลหิตจาง
อุจจาระเป็นเลือด
อาการหมดสติไม่รับรู้ต่อการกระตุ้นต่าง ๆ หรือโคม่า
พยาธิ
•พยาธิสรีรภาพของมาวาเรียในคนเป็นผลมาจากการแตกของเม็ดเลือดแดงที่ถูกเชื้อมาลาเรียเข้าไปอยู่•ร่างกายมีการตอบสนองต่อ Parasite antigen •มีการปล่อย Endogenous cytokines เช่น Interleukin-1 (IL-1) และ Tumour necrosis factor (TNF) ออกมา
การพยาบาล
การชักประวัติ ได้แก่ ประวัติการสัมผัสโรคประวัติการมีไข้และประวัติด้านจิตสังคม
การตรวจร่างกายโดยทั่วไปจะพบมีอาการตัวร้อน
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Typhoid
การพยาบาล
กรณีอาการไม่รุนแรง
•ผู้ใหญ่ใช้ Cotrimoxazole 160/800 มก. วันละ 2 ครั้งนาน 3 วัน
•เด็กใช้ Cotrimoxazole 10 มก. (trimetroprim) วันละ 2 ครั้งนาน3วัน
กรณีอาการรุนแรง
•ผู้ใหญ่ใช้ Ciprofloxacin 500 มก. วันละ 2 ครั้งนาน 3 วัน
•เด็กใช้ Ciprofloxacin 10-20 มก. วันละ 2 ครั้งนาน 3 วัน
ระยะของโรค
ระยะฟักตัว
•ขึ้นอยู่กับจำนวนเชื้อจาก 3 วันถึง 1 เดือนโดยปกติประมาณ 8-14 วันสำหรับ paratyphoid gastroenteritis 1-10
วัน
ระยะติดต่อ สามารถติดต่อได้ตลอดเวลาที่ยังคงพบเชื้อในอุจจาระและปัสสาวะตั้งแต่สัปดาห์แรกจนกระทั่งหาย (ปกติ 1-2 สัปดาห์สำหรับ para typhoid) ประมาณร้อยละ 10 ของผู้ป่วยที่ไม่ได้รับการรักษาจะยังคงมีเชื้อในอจจาระเป็นเวลา 3 เดือนหลังจากเริ่มป่วยร้อยละ 2-5 จะกลายเป็นพาหะเรื้อรังผู้ติดเชื้อ S. paratyphoid มีจำนวนน้อยที่อาจจะเป็นพาหะเรื้อรัง