Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้เทคโนโลยีฯอย่างมีความรับผิดชอบ (มารยาทในการติดต่อสื่อสาร (นิพัฒน์)…
การใช้เทคโนโลยีฯอย่างมีความรับผิดชอบ
แนวทางปฎิบัติเมื่อพบเนื้อหาที่ไม่เหมาะสม (ปิยวรรณ)
1.ปฏิเสธการรับข้อมูล สามารถทำได้โดยไม่เปิดดู ไม่บันเก็บไว้ และไม่กดไลค์(Like)เพราะการกระทำเหล่านี้เป็นแนวทางที่ป้องกันไม่ให้ข้อมูลดังกล่าวไปเผยแพร่สู่ผู้อื่น
2.ไม่ส่งต่อ ไม่แชรื ไม่เผยแพร่ เพราะนอกจากจะทำให้ผู้อื่นเดือดร้อนกับข้อมูลที่ไม่เป็นความจิงแล้ว ในบางกรณีก็อาจเข้าข่ายผิดกฎหมายตามพระราชบัยญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
3.แจ้งครูหรือผู้ปกครอง หากนักเรียนประสบปัญหาที่ไม่สามารถจัดการหรือแก้ไขได้เองให้แจ้งครูหรือผู้ปกครองช่วยเพื่อดำเนินการแก้ไขต่อไป
4.แจ้งผู้เกี่ยวข้องที่ดูแลเว็บไซต์ กรณีที่ใช้งานข้อมูลจากผู้ให้บริการระบบรายใหญ่ เช่น Facebook YouTube ซึ่งเว็บไซต์เหล่านี้เปิดโอกาสให้ผู้ใช้สามารถรายงานปัญหาเกี่ยวกับเนื้อหาที่ไม่เหมาะสมได้ เช่น เนื้อหาที่มีการคุกคามทางเพศ เนื้อหาเกี่ยวกับการรุนแรงส่งเสริมการก่อการร้าย เป็นต้น
5.แจ้งเจ้าหน้าที่รัฐหรือตำรวจ หากผุ้ดูแลระบบไม่จัดการกับปัยหาที่เกิดขึ้น ให้ประสานงานกับหน่วยงานรัฐที่มีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรง เป็นต้น
ผลกระทบการเผยแพร่ข้อมูลที่ไม่เหมาะสม (ปิยวรรณ)
1.ผลกระทบต่อผู้เผยแพร่
1.1จิตใจ รู้สึกผิดกับการกระทำของตนเองหรือรู้สึกเสียใจเมื่อผู้อื่นมรพฤติกรรมเลียนแบบการกระทำที่ไม่เหมาะสมของตนเอง โดยไม่ได้ไตร่ตรองให้ถี่ถ้วน
1.2.สังคม ถูกสังคมลงโทษ ได้รับการประณามหรือเกลียดชังจากสังคม
1.3.ได้รับโทษเนื่องจากข้อมูลเหล่านั้นอาจผิดระเบียบ กฎ เกณฑ์ หรือ กฎหมาย ทำให้เสียเวลา และค่าใช้จ่ายจากการดำเนินคดีตามกฎหมาย
2.ผลกระทบที่ผู้อื่นได้รับจากการเผยแพร่ข้อมูลที่ไม่เหมาะสม
2.1จิตใจ เสียใจทำให้เกิดความรู้สึกอับอาย ไม่ปลอดภัย กลัวรู้สึกไม่มั่นคง มียบาดแผลทางจิตใจ เป้นต้น
2.2สังคม ได้ผลกระทบด้านการใช้ชีวิตประจำวัน ครอบครัวเดือดร้อน ถุกประณามจากสังคม
2.3การงานและธุรกิจ อาจถูกให้ออกจากงานเพราะบริษัทเกิดความเข้าใจผิดจากข้อมูลที่ได้รับเสียผลประโยชน์ทางธุรกิจ เช่น ผู้แสวงหาผลประโยชน์ หรือ คู่แข่งทางธุกิจ อาจสร้างข่าวลวง เป็นต้น
การสร้างและแสดงสิทธิ์ความเป็นเจ้าของผลงาน (อัญชลี)
ข้อมูลและสารสนเทศในรูปแบบเอกสาร รูปภาพ หรือวิดีทัศน์ นับว่าเป็นทรัพย์สินประเภทหนึ่งที่เจ้าของสามารถแสดงสิทธิ์ความเป็นเจ้าของได้หลายรูปแบบ ทั้งแบบที่เห็นชัดเจนหรือซ่อนไว้ นอกจากนี้ยังสามารถระบุเงื่อนไขอนูญาตให้ผู้อื่นนำไปใช้งานได้
ตัวอย่างการระบุเงื่อนไขการใช้งานข้อมูล
1.สามารถนำข้อมูลไปใช้เพื่อการศึกษา แต่ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา
2.หากบันทึกภาพไปใช้ จะต้องทำการบันทึกให้เห็นส่วนที่แสดงถึงโลโก้ของเข้าของผลงาน
3.นำภาพไปใช้ในสื่อสิ่งพิมพ์ได้ แต่ต้องสำเนาไม่เกิน 5000 ฉบับ
มารยาทในการติดต่อสื่อสาร (นิพัฒน์) (สุขภาภร)
1.ใช่ภาษาสุภาพ ชัดเจน ตรงประเด็น เหมาะสมกับกาลเทศะหรือผู้ที่จะสื่อสารด้วย
2.ใช้อักษรตัวหนาเฉพาะข้อความที่ต้องการเน้นเท่านั้น
3.ระบุหัวเรื่อง ชื่อผู้ที่จะสื่อสารด้วย และระบุตัวตนของผ้ส่งอีเมลให้ชัดเจน(เหมือนกับการเขียนจดหมายด้วยกระดาษ)
4.ระบุชื่อหรือตำแหน่งของผู้ที่จะสื่อสารให้ถูกต้องและเหมาะสม
1)มารยาทในการใช้อีเมล
5.เนื้อหาในอีเมลไม่ควรมีข้อความแสดงถึงเจตนาไปในทางเสื่อมเสีย ไม่ฝช้ข้อความที่กำกวมข้อความที่แสดงการตำหนิ ดูถูก ใส่ร้ายผู้อื่นให้ได้รับความเสียหาย
6.หลีกเลี้ยงการส่งอีเมลและการแนบไฟล์ที่มีขนาดใหญ่ให้ใช้การส่งลิงก์หรืิโปรแกรมในการโอนถ่ายไฟล์แทน
7.ไม่ลักลอบส่งอีเมลโดยการปลอมแปลงชื่อผู้ส่งที่ทำให้ผู้รับเข้าใจผิด
8.ไม่ส่งต่ออีเมลลูกโซ้ (Chain E-mail) เช่น อีเมลลวงให้ส่งงต่อไปหลายๆคนแล้วจะได้รับผลประโยชน์
9.ไม่ส่งอีเมลขายสินค้า โฆษณา หรือข้อความที่รบกวนผู้รับ
2)มารยาทในการใช้แชทและเครือขข่ายสังคม
1.ไม่ใช้ข้อความที่เป็นชนวนก่อให้เกิดปัญหาระหว่างบุคคลและกลุ่ม
2.หลีกเลี้ยงการใช้อารมณ์หรือความรูสึกที่มากจนเกินไปทั้งในการอ่านหรือแสดงความคิดเห็น
3.ไม่สวมรอยหรือแอบอ้างโดยใช้ชื่อบุคคลอื่นในการแชท แสดงความคิดเห็นหรือทำให้ผู้อื่นได้รับความเสียหาย เพราะเป็นการกระทำที่ผิดกฏหมาย
4.ไม่ใช้คำถ่อยยัวยุหรือท้าทาย เพื่อแสดงความเห็น หรือความคิดที่ขัดแย้งกับผู้อื่น
แนวทางการพิจารณาเนื้อหาของการเผยแพร่ข้อมูล (อัญชลี)
การที่จะเผยแพร่ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต เราควรพิจารณาถึงจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลและการสื่อสาร ประกอบไปด้วย ลายละเอียดดังนี้
1.
ความเป็นส่วนตัว
ต้องเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลนั้นเกี่ยวกับใครหรือองค์กรใด
2.
ความถูกต้อง
ข้อมูลที่ใช้หรือนำเสนอต้องมีความถูกต้อง น่าเชื่อถือ และต้องรับผิดชอบต่อกานผิดพลาด
3.ทรัพย์สิยหรือความเป็นเจ้าของ
ต้องรู้ว่าใครเป็นเจ้าของข้อมูล มีความสำคัญหรือมีค่ามากน้อยเพียงใด เพื่อให้การจัดมีความเหมาสม
4.การเข้าถึง
เป้นการกำหนดหรือระบุให็บุคลหรือองค์ใดมีสิทธิ์หรือสิทธิพิเศษในการ เข้าถึง