Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 18 ความเป็นครู พหุวัฒนธรรม (รากฐานของพหุวัฒนธรรมศึกษา…
บทที่ 18 ความเป็นครู
พหุวัฒนธรรม
รากฐานของพหุวัฒนธรรมศึกษา
แนวคิดการจัดการศึกษาเน้นพหุวัฒนธรรมศึกษา (Multicultural education)
เป็นแนวคิดดั้งเดิมที่พัฒนาจากประเทศตะวันตก
ถูกนำมากล่าวอ้างในการจัดการศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
ใช้ในการศึกษาของตนอีกความแตกต่างกันทางด้านพื้นฐานทางวัฒนธรรมภาษาประเพณีและความเชื่อของผู้คน
พหุวัฒนธรรมศึกษา
เป็นแนวคิดและแนวปฏิบัติทางการศึกษาที่มุ่งเน้นให้บุคคลในสังคมมีความเท่าเทียมความเสมอภาคเสรีภาพและรักศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ที่แตกต่างกัน
ความหลากหลายในห้องเรียน
มีความหลากหลายเชื้อชาติศาสนาและการดำรงชีวิต
ความชำนาญพหุวัฒนธรรมศึกษาสำหรับครู
ครูต้องเข้าใจวัฒนธรรมที่แตกต่าง
ปรับตัวเข้ากับผู้เรียนได้
สามารถสอนผู้เรียนให้มีความรู้
ครูต้องมีความชำนาญในการสอนผู้เรียนที่มีวัฒนธรรมแตกต่าง
อนาคตพหุวัฒนธรรมศึกษาเป็นที่ยอมรับมากขึ้น
บูรณาการในหลักสูตรและสอดแทรกในเนื้อหาของบทเรียน
สร้างการมีส่วนร่วมของกลุ่มคนต่างวัฒนธรรมและชาติพันธ์ให้กลายเป็นกำลังหลักของชาติในอนาคต
วัฒนธรรม
เป็นพิมพ์เขียวที่กำหนดบุคลิกต่างๆของบุคคลในสังคม
2.ผู้เรียนสามารถเรียนรู้วัฒนธรรมจากสังคมที่เค้าอยู่และปฏิบัติสืบต่อกันมาจนเกิดเป็นวัฒนธรรม
ระดับห้องเรียน
รูปแบบการศึกษาและการเรียนการสอนที่ครอบคลุมถึงประวัติศาสตร์คุณค่าความเชื่อและการรับรู้ของผู้เรียนที่มีภูมิหลัง
เชื่อใจและชาติพันธุ์
ชาติพันธุ์ กลุ่มประชากรที่เป็นสมาชิกของกลุ่มชน
เชื้อชาติ อธิบายถึงแหล่งกำเนิดทางชีววิทยาทางชีววิทยา
การอพยพ
ตรวจคนเข้าเมืองในหลายหลายประเทศที่อพยพเข้ามาทำให้มีคนหลายหลายเชื้อชาติเข้ามาในสหรัฐอเมริกา
แนวคิดหลักเพื่อเป็นแนวทางในการศึกษากลุ่มชาติพันธ์และวัฒนธรรมมีรายละเอียดดังนี้
ต้นกำเนิดและการเข้าเมือง
วัฒนธรรมที่ใช้ร่วมกับค่านิยมและสัญลักษณ์
3.อัตลักษณ์ทางชาติติพันธ์และความรู้สึกของคุณ
มุมมองโลกทัศน์และกรอบอ้างอิง
สถาบันชาติพันธ์และการตัดสินใจด้วยตนเอง
สถานะทางประชากรสาดสังคมการเมืองและเศรษฐกิจ
ความไม่ยุติธรรมการเลือกปฏิบัติและการแบ่งแยกเชื้อชาติ
ความหลากหลายของวัฒนธรรม
การกระตุ้นและการรับวัฒนธรรม
10.การปฏิวัติ
11.การสร้างองค์ความรู้
ความหลากหลายทางเชื้อชาติอนาคต
สองสามทศวรรษข้างหน้ามีความหลากหลายทางเชื้อชาติมากยิ่งขึ้น
ชนชั้นและสถานภาพทางสังคม-เศรษฐกิจ
ชนชั้นของสังคม
เป็นการแบ่งคนในสังคมซึ่งมีพฤติกรรมและแบบแผนดำเนินชีวิตที่แตกต่างกัน
อาศัยคุณลักษณะด้านสังคมเศรษฐกิจเป็นพื้นฐานในการแบ่ง
ชั้นสูง
ชั้นกลาง
ชั้นต่ำ
อาศัยอำนาจบารมีและเกียรติยศศักดิ์ศรีของคนเป็นเกณฑ์
เกณฑ์ที่ใช้ในการเย็บชั้นทางสังคมของบุคคล
สัญลักษณ์ทางสถานภาพ
สถานภาพทางสังคม
สถานภาพทางสังคม-เศรษฐกิจ
รายได้
การศึกษา
อำนาจ
ความมั่งคั่ง
อาชีพ
ความแตกต่างของชนชั้น
Upper class ผู้นำ นามสกุลดังร่ำรวยระดับโลก
2.Middle class กลุ่มผู้จบปริญญาตรีทำงานในสำนักงาน มนุษย์เงินเดือน
3.Working class กลุ่มคนทำงานที่ต้องใช้แรงงานตามโรงงาน
4.Lower class กลุ่มที่ศึกษาต่ำกว่าระดับมัธยมปลาย
ความเสมอภาคทางการศึกษาของชนชั้นและสถานภาพทางสังคม-เศรษฐกิจ
เป็นการให้สิทธิและโอกาสในการรับการศึกษาแก่ทุกกลุ่มคนในสังคม
ความไม่เสมอภาคทางการศึกษา
ไม่ใช่การใช้วิธีปฏิบัติที่เหมือนกัน
ไม่ใช่การให้ทุกคนไปสู่จุดหมายเดียวกัน
เพศและสถานภาพทางเพศ
ความแตกต่างของเพศหญิงและเพศชาย
เอกลักษณ์ทางเพศและบทบาททางเพศ
เอกลักษณ์ทางเพศ หมายถึง ความรู้สึกที่มีต่อตนเองว่าเป็นหญิงหรือเป็นชาย
บทบาททางเพศ หมายถึง สิ่งที่เรารู้สึก คิด พูด วิธีที่เราแสดงเอกลักษณ์ทางเพศของตัวเอง
สถานะภาพทางเพศ
รูปแบบพื้นฐานของอารมณ์
รสนิยมทางเพศ
(1)กลุ่มที่รักเพศตรงข้าม
(2)กลุ่มที่รักและอยากมีความสัมพันธ์กับเพศเดียวกัน
(3)กลุ่มที่รักและอยากมีความสัมพันธ์กับทั้งเพศชายและเพศหญิง
(4)เพศที่สาม
ความพิเศษ
ผู้เรียนที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
สภาวะที่พัฒนาการของจิตใจหยุดชะงัก
เจริญไม่เต็มที่
พัฒนาการทางร่างกายล่าช้า
มีความสามารถจำกัดในการปรับตัวต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม
ความรุนแรงของภาวะบกพร่องทางสติปัญญา
1.ภาวะบกพร่องทางสติปัญญาระดับน้อย
2.ภาวะความบกพร่องทางสติปัญญาระดับปานกลาง
3.ภาวะความบกพร่องทางสติปัญญาระดับรุนแรง
4.ภาวะความบกพร่องทางสติปัญญาระดับรุนแรงมาก
หลักการสอนผู้เรียนที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
(1)ใช้สื่อการสอนให้เหมาะสม
(2)สอนในช่วงระยะเวลาสั้นๆ
(3)สอนตามขั้นตอนตามลำดับจากง่ายไปหายากและไม่ซับซ้อน
(4)ควรสอนเนื้อหาวิชาให้น้อย
(5)สอนบทเรียนให้เหมาะสม
(6)สอนซ้ำๆและสม่ำเสมอ
(7)ใช้คำพูดที่ชัดเจนสั้นๆไม่สับสน
(8)ให้การเสริมแรงตามความเหมาะสม
(9)สังเกต บันทึกความก้าวหน้าของเด็ก
ศาสนา
เป็นสิ่งที่มนุษย์ใช้ยึดเหนี่ยวจิตใจ
ความสำคัญของศาสนา
1.เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจที่เหมือนกับเครื่องมือ
2.เป็นบอกเกิดแห่งความสามัคคีของสมาชิก รวมไปถึงความสามัคคีของมวลมนุษยชาติ ช่วยลดความขัดแย้งทำให้เกิดความสันติ
3.เป็นเครื่องมือในการอบรมสั่งสอน ขัดเกลาสมาชิกของสังคม
4.ทำให้การปฏิบัติตนของสมาชิกในสังคมเป็นบรรทัดฐานเดียวกัน
5.หลักคำสอนต่างๆของศาสนาที่มีประพฤติปฏิบัติสืบทอดกันมายาวนาน
6.เป็นลักษณะของสังคม
7.เป็นมรดกของสังคม
ศาสนาคริสต์ 3 นิกาย
1.นิกายโรมันคาทอลิก
(1)เน้นว่าต้องเป็นผู้สืบทอดคำสอนจากพระเยซู (2)เป็นนิกายเดียวที่เชื่อเรื่องนักบุญ
(3)รูปเคารพ ไม้กางเขนที่พระเยซูถูกตรึงอยู่
2.นิกายออร์ทอด็อก
โรมเก่าและโรมใหม่
โรมใหม่มีศูนย์กลางอยู่ที่กรุงคอนสแตนท์ติโนปิด
3.นิกายโปรเตสแตน
ศาสนาพุทธ
มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา
พระพุทธศาสนาสอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตตนเองด้วยผลแห่งการกระทำของตน
เป็นศาสนาแห่งความรู้ ใช้ปัญญาเหนือศรัทธา
ศาสนาอิสลาม
มีจำนวนมากที่สุดเป็นอันดับสองของโลก
ศาสนทูตของศาสนาอิสลามคือ นบีมูฮัมหมัด
ความศรัทธาข้อบัญญัติเกี่ยวกับการปฏิบัติและจริยธรรม
หลักคำสอนของศาสนาอิสลาม
1.การปฏิบัติตน
2.การถือศีลอด
3.การละหมาดวันละ 5เวลา
4.การบริจาคซะกาด
5.การประกอบพิธีฮัจญ์ที่เมืองเมกกะ
ภาษา
กริยาอาการที่แสดงออกมาแล้วสามารถทำความเข้าใจกันได้
ความหลากหลายของภาษาในอเมริกา
(1)คนผิวขาว 81.7%
(2)คนผิวดำ 12.9%
(3)คนอเมริกันเอเชีย 4.2%
(4)ชาวอินเดียนแดง 1.4%
(5)ชาวฮาวาย 0.2%
ความหลากหลายของภาษา
การนำภาษาและวัฒนธรรมของกลุ่มคนผู้อพยพภาษาถิ่นหรือภาษาพื้นเมือง
ภาษาเฉพาะกลุ่ม
ภาษาของเลขเลขานุการ
ภาษาของกลุ่มคนคุก
ประเภทของภาษา 2 ประเภท
standard English และ Dialects
Non-verbal communication การสื่อสารด้วยปราศจากคำพูดใดๆออกมา
แสดงออกทางท่าทางหรือองค์ประกอบอื่นๆมากมาย
ภูมิศาสตร์
ภูมิประเทศ การแบ่งรัฐต่างๆ
(1)Nortwest States
(2)Southwest States
(3)North Central States
(4)South Central States
(5)Midwest States
(6)Northeast States
(7)Southeast Starts
ทรัพยากรธรรมชาติ
ถ่านหิน ทองแดง เกลือ ยูเรเนี่ยม ทองคำเหล็ก
ปรอท นิกเกิล โปรเตส เงินวุลแฟรม ทังสแตน
สังกะสี ปิโตรเลียม ก๊าซธรรมชาติ และป่าไม้เป็นต้น
สภาพภูมิอากาศ
ภูมิอากาศค่อนข้างหลากหลายและแตกต่างกันไปแต่ละเขต
อายุ
วัยเด็ก Childhood อายุประมาณ0-12 ปี
(1)เด็กน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์
(2)การตายของเด็กทารกแรกเกิด
(3)อัตราการเสียชีวิตของเด็ก
(4)วัยรุ่นจะเสียชีวิตโดยอุบัติเหตุ
(5)วัยรุ่นไม่ได้เรียนหนังสือและไม่ได้ทำงาน
การละเมิดต่อเด็ก
(1)การกระทำให้เกิดอาการบาดเจ็บทางร่างกาย
(2)การล่วงละเมิดทางเพศ
(3)การกระทำที่เป็นการละเมิดต่อจิตใจ
(4)การปล่อยให้เด็กถูกทอดทิ้ง
วัยรุ่น (Adolescence) อายุประมาณ 13 -18ปี
(1)เป็นช่วงเวลาที่สำคัญที่สุดในชีวิต ส่วนบุคคลและครอบครัว
(2)ช่วงต่อระหว่างวัยเด็กกับผู้ใหญ่เพียง6ปี
(3)ต้องการความอิสระ หรือพยายามเป็นอิสระ
(4)เป็นช่วงเวลาที่ยากสำหรับรับผิดชอบเท่ากับผู้ใหญ่
(5)ไม่ค่อยมีความสัมพันธ์กับครอบครัว
(6)เป็นช่วงที่เสี่ยง
พฤติกรรมที่มีความเสี่ยงสูง
”อยากลอง” ลองสิ่งแปลกใหม่
“ตามเพื่อน”จะสนใจเพื่อน
พฤติกรรมทางเพศของวัยรุ่น
เริ่มมีความรู้สึกทางเพศ
มีความสนใจทางเพศตรงข้าม
มีการแสดงออกทางเพศ
หยุดวัยรุ่นคิดฆ่าตัวตาย
(1)พูดคุยด้วยความสนใจ
(2)สนับสนุนให้เขาได้พูด ได้ระบาย
(3)ตัดสินว่าสิ่งนั้นผิดหรือถูก
(4)ไม่ขัดจังหวะให้เขาพูดจนจบ
(5)สนับสนุนให้เขาแสดงความรู้สึก
(6)ไม่แนะนำ
(7)ให้เวลา
(8)ถามคำถามปลายเปิด
ความรุนแรงของวัยรุ่นเกิดความรุนแรง
(1)ระดับบุคคล
(2)ระดับครอบครัว
(3)ระดับเพื่อนบ้านและชุมชน
(4)ระดับสังคม
วัยผู้ใหญ่/หนุ่มสาว (Young Adulthood) อายุประมาณ 18-24ปี
กลุ่มคนรุ่น baby boomer 1946-1964
generation X กลางทศวรรษ 1980
generation Y เกิดระหว่าง 1980-2000
generation Z เกิดหลังจากปี 2000
ขอบเขตของพหุวัฒนธรรมศึกษา
เป็นพหุวัฒนธรรมที่ตระหนักถึงคุณค่าของความหลากหลายในเชิงบวก
เน้นสำคัญในการพัฒนาพหุวัฒนธรรมศึกษา
1.การบูรณาการเนื้อหา
2.กระบวนการสร้างความรู้
3.การลดอคติ
4.การจัดการเรียนการสอนอย่างเท่าเทียมและเสมอภาค
5.การเสริมสร้างศักยภาพของพหุวัฒนธรรมศึกษาและโครงสร้างสังคมในโรงเรียน
โรงเรียนแนวพหุวัฒนธรรมศึกษามีคุณลักษณะ8ประการ
1.เจตคติ มุมมอง ความเชื่อ และการปฏิบัติของบุคลากรในโรงเรียน
แบบแผนของหลักสูตรและวิชาที่สอน
3.การเรียนการสอนและรูปแบบวัฒนธรรมของโรงเรียน
ภาษากลางและภาษาท้องถิ่นของโรงเรียน
5.สื่อและวัสดุการสอน
6.การประเมินและวิธีการทดสอบ
7.วัฒนธรรมโรงเรียนและหลักสูตรเพิ่มเติม
8.โปรแกรมให้คำปรึกษา
การจัดการเรียนการสอนแบบพหุวัฒนธรรม
การเริ่มต้นการเรียนการสอนแบบพหุวัฒนธรรม
ไม่มีกฎตายตัวในวิธีสอนแบบพหุวัฒนธรรมในระหว่างการสอนครูจะต้องใช้วิธีการสังเกตและเปิดใจให้กว้าง
การสร้างบรรยากาศของห้องเรียนที่เป็นพหุวัฒนธรรม
(1)ให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
(2)สนับสนุนสิทธิเสรีภาพและความแตกต่างด้านวัฒนธรรม
(3)ตระหนักเสมอว่าผู้เรียนทุกคนสามารถเรียนรู้ได้
(4)ทราบถึงประวัติความเป็นมาและประสบการณ์ของผู้เรียน
(5)พยายามทำความเข้าใจเรื่องการเหยียดชนชาติ เกลียดเพศ เป็นชนชั้นและเจตคติ
(6)ให้ความสนใจในความยุติธรรมและความเท่าเทียม
(7)เข้าร่วมในกิจกรรมต่างๆเพื่อเข้าใจสังคม
ควรดำเนินการดังนี้
(1)ครูและผู้เรียนทำงานร่วมกัน
(2)พัฒนาทักษะด้านภาษาในทุกเนื้อหา
(3)เชื่อมโยงบทเรียนกับชีวิตความเป็นอยู่ของผู้เรียน
(4)เป็นการสนทนาระหว่างเรียน
การมีเจตคติที่ดีต่อความหลากหลายในสังคมพหุวัฒนธรรม
ครูควรมีเจคคติที่ดีต่อความหลากหลายเพื่อจะเข้าถึง
ผู้เรียนแต่ละคนที่มีความแตกต่างกันในด้านต่างๆ
การตั้งความคาดหวังไว้สูง ครูไม่ควรมีเจคคติที่ไม่ดีต่อผู้เรียนที่มีความแตกต่างจากคนหมู่มาก
การดูแลเอาใจใส่ เป็นสิ่งสำคัญที่ทำให้ครูรู้จักผู้เรียนและบริบทความเป็นอยู่ของผู้เรียนได้มากขึ้น
การรับฟังเสียงของผู้เรียน โดยให้ครูรู้ถึงศักยภาพของผู้เรียนและทราบเข้าใจบทบาทมากเพียงใด
การให้ความสนใจแก่ผู้เรียน
(1)อุทิศตนให้กับสื่อการสอนและงานการสอน
(2)รู้ถึงความสนใจของผู้เรียนภายนอกโรงเรียน
(3)ให้เราเลือกแก่ผู้เรียน
(4)ให้นักเรียนเรียนรู้สิ่งต่างๆในสังคม
(5)แน่ใจว่าผู้เรียนเข้าใจ
(6)ตอบสนองความสนใจหากผู้เรียนให้ความสนใจ
(7)สนใจผู้เรียนและการพัฒนาของผู้เรียน
(8)ช่วยให้ผู้เรียนทำงานที่ได้รับมอบหมายสำเร็จลุล่วง
(9)แสดงความภาคภูมิใจในผลงานของผู้เรียน
(10)ตัวอย่างบุคคล ตัวอย่างเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ
การพัฒนาความชำนาญด้านพหุวัฒนธรรม
รู้จักตนเองและผู้อื่น
นำการฝึกฝนมาใช้
การสอนในฐานะกิจกรรมทางสังคม
มุ่งที่ห้องเรียน