Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลุ่มที่ 1 การพยาบาลเด็กที่มีความผิดปกติของระบบต่อมไร้ท่อ…
กลุ่มที่ 1 การพยาบาลเด็กที่มีความผิดปกติของระบบต่อมไร้ท่อ
Growth hormone
Growth Hormone deficiency
อาการและอาการแสดง
เตี้ยสมส่วน ไขมันสะสมบริเวณลำตัว อัตราการเจริญเติบโตผิดปกติ ฟันขึ้นช้า มือเท้าเล็ก สติปัญญามักปกติ
การวินิจฉัย
ซักประวัติ
ตรวจร่างกาย
ทดสอบการหลั่ง GH
Bone age by X-ray
Growth chart
ภาวะที่ต่อมใต้สมองมีการสร้าง GH ผิดปกติ อาจเป็นความผิดปกติแต่กำเนิด หรือมีพยาธิสภาพอื่นๆ
การรักษา
ใช้ Growth hormone ทดแทน
Growth Hormone excess
สร้าง GH มากเกินไป เช่น Gigantism and Dwarfism
Sex Hormone
ภาวะเป็นหนุ่มเป็นสาวก่อนวัย
มีพัฒนาการทางเพศก่อนวัยอันควร
ญ : มีเต้านมก่อนอายุ 8 ปี หรือมีประจำเดือนก่อนอายุ 9 ปี
สาเหตุ
พันธุกรรม โรคอ้วน ได้รับฮอร์โมนจากภายนอก พยาธิสภาพ เช่น เนื้องอก
ช : มีขนาดอัณฑะโตขึ้น (วัดได้ 2.5 ซม.) ก่อนอายุ 9 ปี
การวินิจฉัย
ซักประวัติ ตรวจร่างกาย Bone age ตรวจระดับฮอร์โมนเพศ Ultrasound MRI pituitary gland
Tanner stages
การรักษา
ไม่มีการรักษาที่เฉพาะ อาจมีการให้ฮอร์โมนยับยั้งและให้คำแนะนำการปฏิบัติตัว
ภาวะเป็นหนุ่มเป็นสาวช้า
ไม่มีการพัฒนาทางเพศเมื่อถึงวัยอันควร
ญ : ไม่มีหน้าอก เมื่ออายุ 13 ปี หรือไม่มีประจำเดือน ภายใน 5 ปีที่เริ่มเข้าวัยรุ่น
ช : ไม่มีพัฒนาการททางเพศ (การเพิ่มขนาดของอัณฑะ) จนอายุ 14 ปี
สาเหตุ
ต่อมใต้สมองหลั่ง LH FSH ผิดปกติ หรือความผิดปกติที่กำเนิด
การวินิจฉัย
ซักประวัติ ตรวจร่างกาย ระดับฮอร์โมน และ MRI pituitary gland
การรักษา
การให้ฮอร์โมนทดแทน
การดูแลสุขภาพจิต
อวัยวะเพศกำกวม
อวัยวะเพศไม่สามารถแยกได้ชัดเจนว่าเป็นเพศหญิงหรือชาย
ญ : มีคลิตอริสใหญ่ มีการเชื่อมกันของแคมอวัยวะเพศส่วนหลัง คลำได้ก้อนที่ขาหนีบ
ช : อัณฑะไม่ลงทั้งสองข้าง องคชาตขนาดเล็ก รูเปิดท่อปัสสาวะอยู่ที่โคนขององคชาต
สาเหตุ
ความผิดปกติในการสร้างฮอร์โมน ได้รับยาจากภายนอก โรคของต่อมหมวกไตทำงานผิดปกติ
การสร้าง Insulin
โรคเบาหวาน (Diabetes mellitus)
คือ สภาวะที่ระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ
อาจเกิดจากร่างกายขาด insulin หรือเซลล์เป้าหมายไม่ตอบสนองต่อ insulin
อาการ
Polyuria, Polydipsia, Polyphagia, Weight loss ,Complication : DKA
การวินิจฉัย
Hyperglycemia,Glucosuria,Electrolyte imbalance from dehydrate,ภาวะเลือดเป็นกรด
การรักษา
Insulin,อาหาร,การออกกำลังกาย
การฉีดอินซูลิน
ตำแหน่ง : ต้นแขน ต้นขา สะโพก หน้าท้อง เปลี่ยนตำแหน่งหมุนเวียนไป
การให้ insulin แบบ basal bolus regimen
การแก้ไขภาวะ Hypoglycemia ในเด็ก
อาการ : เหงื่อออก ใจสั่น มือสั่น หิว ไม่มีแรง หงุดหงิด ซึม หมดสติ ชัก
แก้โดย : น้ำหวาน 15-30 ml หรือน้ำผลไม้
Thyroid hormone
hypothyroidism
congenital hypothyroidism
ซึม ไม่ร้องกวน หลับมาก เสียงแหบ อาจมีดีซ่าน ฟันขึ้นช้า ปัญญาอ่อน ผิวหยาบแห้ง
การวินิจฉัย
Low level of T4 T3 และ High level of TSH
เกิดจากการขาดไอโอดีน พันธุกรรม ความผิดปกติของต่อมไทรอยด์ เช่น ไม่มีต่อม อยู่ผิดที่ หรือมีความผิดปกติในการสร้างฮอร์โมน
การรักษา
L-thyroxine ภายใน 1 เดือน
hyperthyroidism
เกิดจากการสร้าง Thyroid Hormone มากผิดปกติ พบในญ>ช
สาเหตุ : Autoimmune disease
การวินิจฉัย
ซักประวัติ ตรวจร่างกาย ,increased T3 and T4,decrease TSH
การรักษา
Antithyroid drugs to block T4 synthesis, Rediaactive Iodine,Surgery
อาการ
คอพอก ใจสั่น มือสั่น เหงื่อออกง่าย ผมร่วง ขี้ร้อน น้ำหนักลด หงุดหงิดง่าย
ข้อวินิจฉัยพยาบาล
มีไข้สูงเนื่องจากเมตาบอลิซึมสูงกว่าปกติ
วัดอุณหภูมิร่างกายทุก 4 ชั่วโมง พยายามรักษาอุณหภูมิของร่างกายผู้ป่วยให้ต่ำกว่า 38 องศาเซลเซียส
ลดไข้โดยเช็ดตัวด้วยน้ำเย็นใช้ cold pack วางหรือใช้ hypothermic blanket ห่มผู้ป่วย
3.ดูแลให้ยาลดไข้กลุ่ม acetaminophen เช่น paracetamol หลีกเลี่ยงการใช้ยากลุ่ม salicylate เพราะจะไปเพิ่มอัตราการเผาผลาญสูงขึ้น
4.จัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ สะอาด ให้ผู้ป่วยพักผ่อนเพื่อลดเมตาบอลิซึม
มีภาวะขาดน้ำ เนื่องจากเมตาบอลิซึมสูง
ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา ได้แก่ 5%D / NSS, 10%D/NSS ในอัตราที่กำหนด
2 บันทึกปริมาณสารน้ำเข้า-ออก เพื่อประเมินระดับความสมดุลของปริมาณน้ำเข้า-ออก และวัดปริมาณปัสสาวะที่ออก
บันทึก CVP ทุก 2-4 ชั่วโมง ถ้าต่ำกว่า 5 cmH2O ต้องปรับเพิ่มอัตราเร็วของการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ ถ้า CVP สูงเกิน 12 cmH2O ต้องลดอัตราเร็วของสารน้ำที่ให้
ประเมินสภาพ skin turgor ดูแลความสะอาดและความชุ่มชื้นของผิวหนัง
ประเมินระดับความรู้สึกตัว และคอยวัดสัญญาณชีพ เพื่อดูแลความเปลี่ยนแปลงและการตอบสนองต่อการรักษา
บิดามารดามีความวิตกกังวลเนื่องจากอาการของภาวะthyroid crisis คุกคามชีวิต
บันทึกสัญญาณชีพ เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงและดูการตอบสนองต่อการรักษา
จัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ เพื่อให้ผู้ป่วยได้พักผ่อน และอธิบายให้ผู้ป่วยทราบก่อนให้การรักษาพยาบาลทุกครั้งเพื่อลดความตกใจกลัวของผู้ป่วย
3 เมื่อผู้ป่วยพ้นภาวะวิกฤติแล้วพยาบาลแนะนำวิธีการปฏิบัติตัวสำหรับผู้ป่วยเช่นอธิบายหน้าที่ของขอร์โมนไทรอยด์เน้นการควบคุมโรคให้สงบโดยรับประทานยาสม่ำเสมอห้ามหยุดยาเองแนะนำอาการเริ่มแรกของการขาดฮอร์โมนไทรอยต์แนะนำเรื่องการรับประทานอาหารการพักผ่อนและการมาตรวจตามนัดสังเกตอาการที่เกิดจากภาวะไทรอยด์วิกฤติเช่นไข้สูงกระวนกระวายเหงื่อออกผิวหนังชั้นขาดน้ำหัวใจเต้นเร็วไม่สม่ำเสมอภาวะหัวใจล้มเหลวหรือภาวะน้ำท่วมปอดอาการของระบบทางเดินอาหารเช่นคลื่นไส้อาเจียนปวดท้องท้องเดินตัวเหลืองรวมทั้งกระสับกระส่ายเพ้อชักหมดสติ
4.บิดา มารดา และเด็กป่วยมีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการเจ็บป่วยของเด็กจากอาการของ DKA
ดูแลเด็กอย่างใกล้ชิดแสดงความห่วงใย สนใจ และเอาใจใส่ เพื่อสร้างสัมพันธภาพที่ดีแก่เด็กป่วย และครอบครัวโดยเปิดโอกาสให้บิดา มารดาและเด็กได้ระบายความวิตกกังวล และซักถามข้อสงสัยต่างๆ
-สนับสนุนให้บิดา มารดา มีส่วนร่วมในการดูแลเด็กตั้งแต่เด็กยังพักรักษาตัวอยู่ที่โรงพยาบาลเพื่อให้เข้าใจวิธีการดูแลและสร้างความอบอุ่นใจให้แก่เด็กป่วย แนะนำให้บิดา มารดาเยี่ยมเด็กโดยสม่ำเสมอเพื่อเป็นกำลังใจให้กับเด็ก
-กรณีที่เด็กไปโรงเรียนไม่ได้เนื่องจากต้องพักรักษาตัวในโรงพยาบาล พยาบาลควรหาทางช่วยเหลือเรื่องการเรียนของเด็กด้วย
-อธิบายให้บิดา มารดาเข้าใจ การดำเนินโรคและเห็นความสำคัญของการพาเด็กมาพบแพทย์ตามนัด เพราะเด็กจำเป็นต้องได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาการเหมาะสมกับวัย
-ในกรณีที่เด็กและครอบครัวมีปัญหาทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ควรส่งให้นักสังคมสงเคราะห์ดูแลต่อไป
-ส่งต่อให้พยาบาล อนามัยชุมชนได้ติดตามเยี่ยมเด็กที่บ้านและโรงเรียน เพื่อให้ดูแลอาการ การเปลี่ยนแปลงต่างๆ รวมทั้งความสามารถในหารดูและตนเองของเด็ก และครอบครัว
5.มีโอกาสเกิดภาวะขาดน้ำจากอาการของภาวะเบาจืด
การพยาบาล
ให้ความรู้ คำแนะนำ และการประคับประคองอารมณ์ จิตใจ ในปัญหาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพร่างกาย และภาพลักษณ์
กรณีเฝ้าระวังการขาดน้ำหรือไม่สมดุลน้ำและเกลือแร่ ควรประเมิน I/O, record urine per hour, ชั่ง นน ตัว อย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง, ดูแลให้ ADH ตามแผนการรักษา, ให้ IV fluid ตามแผนการรักษา, ติดตามผลการตรวจต่างๆที่เกี่ยวข้อง
เฝ้าระวังการมีกิจกรรมที่ไม่เหมาะสมหรือการเกิดอุบัติเหตุจากกล้ามเนื้ออ่อนแรง พยาบาลจะต้องช่วยดูแลในกิจวัตรประจำวันและช่วยฟื้นฟูให้ร่างกายแข็งแรง
สอน Pt. เกี่ยวกับการรับประทานยา การพ่นยา การสังเกตอาการผิดปกติต่างๆ การกระหายน้ำ การถ่ายปัสสาวะที่ผิดปกติต้องบอกให้แพทย์ทราบ